dc.contributor.author |
ธีรพล เหล่ามะโฮง |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
th |
dc.date.accessioned |
2023-01-09T10:43:37Z |
|
dc.date.available |
2023-01-09T10:43:37Z |
|
dc.date.issued |
2565 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5059 |
|
dc.description |
การพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพของสำนักสื่อสารความเสี่ยงฯ กรมควบคุมโรค คาดว่าในสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อย (ร้อนสลับฝนตก) ซึ่งอากาศที่ร้อนอาจทำให้สัตว์หงุดหงิดได้ง่ายอาจมีผู้เสียชีวิตจากโรคพิษสุนัขบ้าได้ เนื่องจากโรคนี้สามารถเกิดขึ้นได้ตลอดทั้งปี โรคพิษสุนัขบ้าเป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน โดยเชื้อจะเข้าทางบาดแผล ผ่านการกัด ข่วน เลีย หรือสัมผัสกับน้ำลายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมทุกชนิดที่ติดเชื้อ เช่น สุนัข แมว หนู ลิง ค้างคาว สัตว์ที่พบบ่อยที่สุด คือ สุนัข รองลงมา คือ แมวและวัว ประชาชนควรระมัดระวังตนเองและบุตรหลานไม่ให้ถูกสัตว์กัดหรือ ข่วน จากสถิติโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา พบว่ามีผู้ป่วยเข้ารับบริการด้วยเรื่องถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกัด ปีพ.ศ. 2564 เป็นจำนวนถึง
1,279 ราย นอกจากโรคพิษสุนัขบ้าแล้วยังมีอีกปัญหาสำคัญที่ตามมา หลังจากที่ถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกัด ที่มีลักษณะเป็นแผลแบบถูกแทง (puncture wound) และแผลฉีกขาด (laceration wound) ซึ่งอาจนำไปสู่การติดเชื้อแบคทีเรียอย่างรุนแรงได้หากไม่ได้รับการดูแลบาดแผลอย่างถูกวิธี (ณัฐวุฒิ ลีลากนก, 2560)
จากประเด็นดังกล่าว จึงจัดทำมือการดูแลแผลต่อเนื่องผู้ป่วยที่ถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกัดของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพาขึ้น สำหรับบุคลากรเพื่อใช้เป็นแนวทางการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสม เป็นไปในแนวทางเดียวกันรวมทั้งส่งเสริมการหายของแผลให้เป็นไปอย่างปลอดภัย |
|
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม |
th_TH |
dc.subject |
พิษสัตว์ |
th_TH |
dc.subject |
โรคติดเชื้อจากสัตว์ |
th_TH |
dc.title |
การดูแลแผลต่อเนื่องผู้ป่วยที่ถูกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกัดของโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.type |
Book |
th_TH |
dc.author.email |
theerapol@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2565 |
th_TH |