dc.contributor.author |
นงค์นุช แน่นอุดร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
th |
dc.date.accessioned |
2023-01-05T03:55:56Z |
|
dc.date.available |
2023-01-05T03:55:56Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/5038 |
|
dc.description |
โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สําคัญระดับประเทศ รวมถึงเป็นโรคที่ระบาดในจังหวัดชลบุรีทุกปี มหาวิทยาลัยบูรพาเป็นสถานศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีนิสิต บุคลากรทางการศึกษาเป็นจํานวนมาก และอยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาด ดังนั้นการดําเนินงานที่จะทําให้พื้นที่ปลอดโรคไข้เลือดออก จึงมุ่งเน้นการลดอัตราป่วยและลดอัตราป่วยตายจากโรคไข้เลือดออกตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข การดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อลดโอกาสการแพร่ระบาดของโรคในพื้นที่ โดยการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง ดําเนินการสอบสวนป้องกันควบคุมโรคอย่างเป็นระบบ ได้แก่ ป้องกันโรคก่อนเกิดการระบาด การดําเนินการสอบสวน ควบคุมโรคได้ทันเวลา อีกทั้งหัวใจสําคัญของการควบคุมโรคไข้เลือดออกให้ได้ผลดี คือ การสร้างแรงจูงใจให้ชุมชนตระหนักรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และร่วมกันรับผิดชอบดูแลสิ่งแวดล้อม ในบ้าน วัด โรงเรียน สถานที่ทํางานให้สะอาด ปราศจากแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย รวมถึงการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับเครือข่ายสาธารณสุขในชุมชน จนทําให้เกิดการผสมผสานความร่วมมือร่วมใจในการดําเนินงานควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้นคู่มือกระบวนการสอบสวนและควบคุมโรคไข้เลือดออกนี้ จะเป็นแนวทางในการดําเนินงานสําหรับนักวิชาการสาธารณสุข หรือผู้ที่มารับผิดชอบงานนี้ ให้สามารถดําเนินงานได้อย่างถูกต้อง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ |
th |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ไข้เลือดออก |
th_TH |
dc.subject |
ไข้เลือดออก - - การป้องกันและควบคุม |
th_TH |
dc.subject |
ไข้เลือดออก - - การแพร่ระบาด |
th_TH |
dc.title |
กระบวนการสอบสวนและควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่มหาวิทยาลัยบูรพา ของแผนกเวชศาสตร์ชุมชน
โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.type |
Book |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |