dc.contributor.author |
กาญจนา พิบูลย์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2019-03-25T08:51:51Z |
|
dc.date.available |
2019-03-25T08:51:51Z |
|
dc.date.issued |
2548 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/470 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi experimental research) เพื่อศึกษาระดับความซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่มารับบริการ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ และศึกษาประสิทธิผลของดนตรีบำบัดต่อการลดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ
ที่มารับบริการ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มตัวอย่างในช่วงแรก คือ ผู้สูงอายุที่มารับบริการ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวน 130 คน กลุ่ม ตัวอย่างในช่วงทดลองคือผู้สูงอายุ ที่ได้รับการประเมินภาวะซึมเศร้าโดยใช้แบบวัดความซึมเศร้าในผู้สูงอายุไทย (TGDS) และมีค่าคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้า เล็กน้อย ถึงปานกลาง จำนวน 10 คน ผู้สูงอายุที่อาสาสมัครเข้าร่วม การศึกษาต้องเข้าร่วมโปรแกรม จำนวน 8 ครั้ง เป็นเวลา 5 สัปดาห์ และครั้งที่ 9 เป็นการติดตามผล ซึ่งต้องใช้เวลาหลังการทดลอง 4 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ สถิติพรรณนา และ One-way repeated ANOVA ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 60-65 ร้อยละ 41.5 เป็นเพศหญิง จำนวนร้อยละ 59.2 มีสถานภาพสมรส ร้อยละ 62.3 การศึกษาระดับประถมศึกษาถึง จำนวนร้อยละ 43. 1 มีภาวการณ์เจ็บป่วยด้วยโรค เบาหวาน และความดันโลหิตร่วมกันมากที่สุด จำนวนร้อยละ 45.2 กลุ่มตัวส่วนใหญ่มีภาวะซึมเศร้าระดับเล็กน้อย จำนวนร้อยละ 49.2 ระดับปานกลางร้อยละ 3.8 ระดับรุนแรงร้อยละ 0.8 ผลการศึกษาหลังจากดำเนินการทดลองพบว่า ผู้สูงอายุที่ได้เข้าร่วมโปรแกรมดนตรีบำบัดมีระดับค่าคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าระยะหลักการทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 และค่าคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้า ระยะติดตามผล 4 สัปดาห์ ต่ำกว่าการทดลอง แต่สูงกว่า ระยะหลังการทดลองอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ โปรแกรมดนตรีบำบัดสามารถลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุได้ ดังนั้น พยาบาลวิชาชีพควรนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมการพยาบาลกับผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าทั้งที่ได้รับใน ชุมชนละในคลินิกอื่นในแผนกผู้ป่วยนอก ต่อไปในการศึกษาครั้งต่อไป ควรคำนึงถึงการศึกษาเปรียบเทียบผลของดนตรีบำบัดในผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมและกลุ่มตัวอย่างอาจเป็นในกลุ่มผู้ป่วยที่เข้ามารับบริการในหอผู้ป่วย |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากเงินรายได้ ของศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2548 |
en |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ความซึมเศร้า |
th_TH |
dc.subject |
ความซึมเศร้าในผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.subject |
ดนตรีบำบัด |
th_TH |
dc.title |
ผลของดนตรีบำบัดต่อการลดภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ |
th_TH |
dc.title.alternative |
The effect of music therapy on depressed older adults |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
kanchanap@buu.ac.th |
en |
dc.year |
2548 |
|
dc.description.abstractalternative |
This study is quasi-experimental research study whose purpose was to investigate the effect of music therapy on depressed older adults. The initial sample was 130 older adults from 60 years old and over who were diagnosed with depression by the Thai Geriatric Depression Scale (TGDS). Ten older adults who had mild and moderate depressive score were volunteered to Join into music therapy group. All subjects participated in music therapy group 8 times within 5 weeks and weeks and were followed up within 4 weeks after the treatment finished. Both
Descriptive statistics and one way- repeated measure ANOVA were used to analyze the data.
The result showed that the mean of the 10 older adults’ depression scores before and after music therapy treatment were significantly different and that the level of depression amomg older adults in the follow up 4 weeks after treatment was lower than the depressive score before treatment, but higher than depressive score immediately after treatment. It was conclude that music therapy reduces depression in older adults with the implication that registered nurses should apply music therapy in nursing care for depressed older adults living in the community and other outpatients department. The next phase of research study, quasi-experimental research study is recommend in order to include a control group again which is to compare the effect of music therapy and other Treatment. Also inpatients may be use as subject in future research to justification the effect of music theapy on most severely depressed patients. |
en |