DSpace Repository

เรื่องรูปแบบนวัตกรรมการตลาดเรือหัวโทงไฟเบอร์กลาส หมู่บ้านทุ่งรัก อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา

Show simple item record

dc.contributor.author สิริการย์ ธนศรีบุณยภักดิ์
dc.contributor.author สุชนนี เมธิโยธิน
dc.contributor.author ธเนศ มณีกุล
dc.date.accessioned 2022-08-15T06:18:48Z
dc.date.available 2022-08-15T06:18:48Z
dc.date.issued 2561
dc.identifier.issn 1685-2354
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4687
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงคเ์พื่อศึกษานวัตกรรมเรือหัวโทงไฟเบอร์กลาส และศึกษารูปแบบการตลาดเรือหัวโทงไฟเบอร์กลาส หมู่บ้านทุ่งรัก อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา ระเบียบวิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ ทำการเก็บข้อมูลด้วย แบบสอบถาม กับผู้ประกอบการต่อเรือหัวโทงและบริษัทนำเที่ยวทางน้ำจำนวน 270 คน กับผู้ประกอบการที่ใช้เรือหัวโทงและบริษัทนำเที่ยวทางน้ำโดยใช้การวิเคราะห์แปลค่าด้วยค่าความถี่ (Frequency), ค่าร้อยละ (Percentage), ค่าเฉลี่ย (Mean), ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และใช้การทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียวโดยใช้ค่าสถิติ One-way ANOVA, F-test และในกรณีที่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทำการตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ระดับความเชื่อมั่น 95 % และสมการพยากรณ์โดยการวเิคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) ผลการวิจัยพบว่า นวัตกรรมเรือหัวโทงไฟเบอร์กลาส ที่ส่งผลต่อการใช้งานของผู้ใช้งาน ได้แก่ 1) เรือหัวโทงไฟเบอร์กลาสมีค่าบำรุงรักษาประหยัดกว่าเรือไม้ (B = 0.244) 2) เรือหัวโทงไฟเบอร์กลาส ต่อเติมและดัดแปลงง่าย (B = 0.141) 3) เรือหัวโทงไฟเบอร์กลาสเป็นฉนวนกันความร้อนได้ (B = 0.088) นอกจากนี้ยังพบว่าช่องทางการจัดจำหน่ายเรือหัวโทงไฟเบอร์กลาส ที่เหมาะสม ได้แก่ 1) ผ่าน นทางเว็บไซต์ (B = 0.206) 2) จัดการส่งเสริมการตลาดเมื่อซื้อด้วยเงินสดและมีระบบเงินผ่อนเรือได้ (B = 0.064) 3.ขายผ่านทางเฟสบุ๊ก Facebook (B = -0. 154) th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject เรือประมง -- ไทย -- พังงา th_TH
dc.subject เรือประมง -- นวัตกรรมทางเทคโนโลยี th_TH
dc.subject เรือประมง -- การตลาด th_TH
dc.title เรื่องรูปแบบนวัตกรรมการตลาดเรือหัวโทงไฟเบอร์กลาส หมู่บ้านทุ่งรัก อำเภอคุระบุรี จังหวัดพังงา th_TH
dc.title.alternative The model of fiberglass longtail-boat (Hua Tong boat) marketing in Thung Rak village, Kuraburi district, Phang Nga province en
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 13 th_TH
dc.year 2561 th_TH
dc.description.abstractalternative The research purposes were to study the innovation of longtail-boats made from fiberglass and marketing model in Thung Rag village, Kuraburi district, Phang Nga province, Thailand. The participants composed of the local people and business ones who have a tourism agent total 270 persons. They were voluntary by attending the meeting hold by the researcher at the center of the community. The questionnaires were given to the participants for feedback. The data were analyzed by using frequency, mean, standard deviation and one-way ANOVA as well as F-test for testing the hypothesis. In addition, if there were some statistically significant differences found, they had been tested the difference of each pair at significant level 0.05 and reliability at 95 %. Multiple linear regression was used for a predictive analysis. The research results were found that the innovation of fiberglass longtail-boat was more useful and satisfied by the participants as the followings: For the users 1. More economized maintenance than wooden longtail-boats (β = 0.244) 2. Easily added and modified (β = 0.141) 3. Being a heat insulator (β = 0.088) For the marketing model The boats were distributed in 3 ways respectively. 1. Posting it on a website (β= 0.206) 2. Giving a promotion to ones who pay it in cash and allowing to pay by installments (β =0.064) 3. Selling via Facebook (β = 0.154) en
dc.journal วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review th_TH
dc.page 146-159. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account