dc.contributor.author |
พีรยสถ์ รัตนธรรม |
|
dc.contributor.author |
นนท์ สหายา |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-12T12:37:08Z |
|
dc.date.available |
2022-08-12T12:37:08Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.issn |
1685-2354 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4671 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยจูงใจพนักงานให้คงอยู่กับองค์กรที่มีผลต่อ
ความจงรักภักดีของพนักงานต่อองค์กร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้กลุ่มประชากรจากจำนวนพนักงานวิศวกรฝ่ายสนับสนุนทั้งหมด 125 คน โดยใช้เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบประเมินค่า (Rating scale) ที่ผ่านการหาทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการแจงนับความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) และทดสอบสมมติฐานทำการวิเคราะห์หาอิทธิพลของตัวแปรโดยใช้สถิติ วิธีวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุคูณ (Multiple regression analysis) ผลการวิจัย พบว่าประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ร้อยละ 68.3 ช่วงอายุมากกว่า 30 ปี ถึง 35 ปี ร้อยละ 40.0 มีสถานภาพสมรส ร้อยละ 64.2 ระดับการศึกษาปริญญาตรี ร้อยละ 76.7 และมีอายุงานมากกว่า 5 ปี ร้อยละ 56.7 ซึ่งมีระดับความคิดเห็นเรื่องปัจจัยจูงใจพนักงานให้คงอยู่กับองค์กรโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยที่ปัจจัยเรื่องความรับผิดชอบในงานที่ท้าทายความสำเร็จในการทำงาน และความน่าสนใจในของงานอยู่ในระดับมาก 3 ลำดับแรก ส่วนระดับความคิดเห็นด้านความจงรักภักดีของพนักงานต่อองค์กรโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยที่ความจงรักภักดีด้านความรู้สึก ด้านการรับรู้โดยการไม่สงสัยผู้นำของตน และด้านพฤติกรรมที่แสดงออก อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน ผลการวิเคราะห์สมมติฐานพบว่า ปัจจัยจูงใจพนักงานให้คงอยู่กับองค์กรด้านการเจริญเติบโตในการทำงาน ความน่าสนใจของงาน และความรับผิดชอบในงานที่ท้าทายมีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของพนักงานต่อองค์กรโดยรวมร้อยละ 74.3 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ความภักดีของลูกจ้าง |
th_TH |
dc.subject |
ความผูกพันต่อองค์การ |
th_TH |
dc.subject |
การจูงใจในการทำงาน |
th_TH |
dc.title |
ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อความจงรักภักดีของพนักงานต่อองค์กร: กรณีศึกษาบริษัท เอบีซี จำกัด |
th_TH |
dc.title.alternative |
Motivation influencing employees loyality toward organization: A case study of ABC company |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
16 |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Sea freight is a popular transportation and has low cost compared to the bulk volume shipped at a time. Around Koh Sichang has an area suitable for cargo handling activities. A dangerous dry bulk which is unloaded between ships with a grab, causing a scattering
of small dust to fall into the sea. Including the washing of debris from the bowels to the sea which may affect the quality of water and sediment around the loading area. It can affect life in the marine ecosystem around Koh Sichang. From reports have belowbenchmark dissolved oxygen content in the eastern part of Koh Sichang, as well as the accumulation of organic matter in the sediment and degradation of coral reefs in close proximity to
cargo ship which in the long run will affect the ability to support the sea transportation activities of the island area decreases. Solving problems may have legal and administrative concerns especially dealing with the emission of litter from marine vessels ,organizing or setting mooring areas used for loading and unloading cargo in sea at a distance from shore or community area in order to reduce the impact of dust diffusion from bulk cargo handling. |
th_TH |
dc.journal |
วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ = Journal of Graduate School of Commerce Burapha Review |
th_TH |
dc.page |
15-31. |
th_TH |