dc.contributor.author |
ณรงค์ พรมสืบ |
|
dc.contributor.author |
จักรชัย สื่อประเสริฐสิทธิ์ |
|
dc.contributor.author |
อุษณากร ทาวะรมย์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-10T06:16:44Z |
|
dc.date.available |
2022-08-10T06:16:44Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.issn |
2651-1436 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4656 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหมาะสมในการบริหารปกครองด้านอุทกภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เศรษฐกิจจังหวัดระยองภายใต้แนวคิดการบริหารปกครองท้องถิ่น ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัย เชิงคุณภาพ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากตัวแทนเครือข่ายภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยในพื้นที่เศรษฐกิจจังหวัดระยองรวมทั้งสิ้น 30 คน เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสนทนากลุ่ม และการสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา แบบหน่วยบริบท ผลการวิจัยพบว่า ความเหมาะสมในการบริหารปกครองด้านอุทกภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เศรษฐกิจจังหวัดระยองภายใต้แนวคิด การบริหารปกครองท้องถิ่น ภาครัฐต้องลดบทบาทของรัฐลงและเปิดพื้นที่ให้กับ ตัวแสดงอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาครัฐได้เข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารรัฐกิจให้เกิดประโยชน์สาธารณะได้อย่างแท้จริง โดยรัฐมีบทบาทเป็นเพียงผู้กำกับและคอยประสานความร่วมมือ โดยรูปแบบที่เหมาะสมของการบริหารจัดการอุทกภัยในพื้นที่เศรษฐกิจจังหวัดระยองภายใต้แนวคิดการปกครองท้องถิ่น มีหลักการสำคัญประกอบด้วย ความร่วมมือระหว่างสมาชิกในเครือข่าย เป็นการสร้างความร่วมมือร่วมใจระหว่างสถาบันหรือองค์กรที่เป็นสมาชิกเครือข่ายองค์กร หลักการใช้การเจรจา เป็นการใช้การเจรจาของผู้กำหนดนโยบายกับตัวแสดงแทนกฎ ระเบียบ และคำสั่งเพื่อมิให้กระทบพฤติกรรมความร่วมมือที่มีอยู่ของผู้กำหนดนโยบายกับตัวแสดง หลักความยืดหยุ่น โดยเครือข่ายจำเป็นต้องเป็นองค์กรที่ยืดหยุ่น ผู้บริหารเครือข่ายใช้หลักความยืดหยุ่น และมีความสามารถในการปรับตัวเพื่อจะนำไปสู่ผลลัพธ์ของโครงการ และความเชื่อถือและความไว้วางใจ โดยเครือข่ายมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันภายในเครือข่ายอย่างสม่ำเสมอ มีความไว้วางใจในหมู่สมาชิก เพื่อนำมาควบคุมกำกับดูแลการบริหารจัดการอุทกภัยให้เป็นไปตามกรอบนโยบายของภาครัฐที่ได้กำหนดไว้ตามพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2558 เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะให้สามารถสนับสนุนการบริหารจัดการสาธารณภัยที่เกิดขึ้นในพื้นที่ดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การปกครองท้องถิ่น |
th_TH |
dc.subject |
อุทกภัย -- การจัดการ |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาความเหมาะสมในการบริหารปกครองด้านอุทกภัยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพื้นที่เศรษฐกิจจังหวัดระยองภายใต้แนวคิดการบริหารปกครองท้องถิ่น |
th_TH |
dc.title.alternative |
The feasibility studying for flood management of the local administrative organization in the economic area of Rayong province under teh concept of local governance |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
9 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research aimed to study the feasibility for the flood management of the local administrative organization in the economic area of Rayong Province under the concept of local governance. The researcher used the qualitative research methodology by collecting data from 30 key informants such as: government network representatives, private networks, and people who affected by the floods in the economic area of Rayong
Province. Data were collected byin-depth interview, focus group and observation and data were analyzed using content analysis in contextual unit. The research found that the feasibility for the flood management of the local administrative organizations in the
economic area of Rayong Province under the concept of local administration, the government must reduce the role of the state and open the area for other non-state actors to truly participate in public administration of the public benefit by the government have
only the role of director and coordinator, by applying the concept of governance as guideline for flood management which has importance principles consisting of the collaboration: collaboration between institutions and organizations that were members of the organization’s network, the negotiation: negotiation policy-makers with actors; the flexibility, the network need to be a flexible organization, network administrators used flexibility principles and have the ability to adapt to lead to project results; the trust, the
network interacted consistently within the network, there was trust among members, to be supervised flood management in accordance with the government policy framework that has been set by the Disaster Prevention and Mitigation Act 2007 and the National Disaster
Prevention and Mitigation Plan 2015, to increase the capacity to be able to support management disaster that occur in those areas with Maximum efficiency. |
th_TH |
dc.journal |
วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง = Journal of public administration and politics |
th_TH |
dc.page |
1-20. |
th_TH |