DSpace Repository

กลยุทธ์และนวัตกรรม

Show simple item record

dc.contributor.author เอกวิทย์ มณีธร
dc.contributor.author เขมมารี รักษ์ชูชีพ
dc.contributor.author จิรศักดิ์ สุรังคพิพรรธน์
dc.contributor.author ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี
dc.contributor.author พูนศักดิ์ แสงสันต์
dc.contributor.author นัยนา รัตนสุวรรณชาติ
dc.date.accessioned 2022-08-05T09:05:47Z
dc.date.available 2022-08-05T09:05:47Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.issn 1906-506X
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4614
dc.description.abstract ความสามารถพื้นฐานที่กำหนดให้องคก์รอยู่รอดและมีความเจริญเติบโตในระยะยาว stalk et al. (1992) กล่าวไว้ว่า ความสามารถในการแข่งขันอยู่บนพื้นฐานของหลักการ 4 ข้อ คือ 1. กลยุทธ์ขององค์การไม่ใช่ขึ้นอยู่กับผลิตภัณฑ์หรือตลาด แต่ขึ้นอยู่กับกระบวนการทางธุรกิจ 2. ความสำเร็จในการแข่งขันขึ้นอยู่กับกระบวนการหลักขององค์การ ในเรื่องของความสามารถทางกลยุทธ์ในการจัดเตรียมมูลค่าให้กับลูกค้า 3. องค์การสร้างความสามรถโดยใช้กลยุทธ์ในการลงทุนทางด้าน Business Units (SBUs) 4. ความสามารถในการบริหารงานข้ามหน้าที่ คือมีความสามารถในการทำกลยุทธ์ทุก ๆ หน้าที่ ของผู้บริหารระดับสูง (CEO) กลยุทธ์ทั่วไปสำหรับนวัตกรรม (Generic strategies for innovation) ขึ้นอยู่กับพื้นฐานของทฤษฏีการไดเ้ปรียบเชิงการแข่งขันซึ่งให้ความสนใจไปยังผลตอบแทนที่คุ้มค่า ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 3 กลยุทธ์ ดังนี้ 1) กลยุทธ์ให้ความสนใจไปยังสินค้า ตลาด และกลุ่มเป้าหมาย (Product-market-focussed strategies) 2) กลยุทธ์โอกาส ความเสี่ยงกลุ่มเป้าหมาย (Opportunity-risk-focussed strategies) กลยุทธ์กลุ่มนี้ขึ้นอยู่กับพื้นฐานของความเสี่ยงและแนวโน้มของอนาคตองค์การ Miles and Snow’s (1978) จำแนกประเภทกลยุทธ์นี้ออกเป็น 4 ประเภท คือ 2.1)องค์การที่มีความคิดก้าวหน้า (Prospectors) 2.2) องค์การที่มีความคิดในการวิเคราะห์ต่าง ๆ (Analysers) 2.3) องค์การที่มีความคิดในการปกป้องตนเอง (Defenders) 2.4) องค์การที่มีความคิดเฉื่อยชา (Reactors) และ 3) กลยุทธ์เวลาอุตสาหกรรมและในความในใจไปยังคู่แข่ง Time-based (Industry-and competitor-focussed) strategies th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การบริหารองค์การ th_TH
dc.subject การพัฒนาองค์การ th_TH
dc.subject องค์การ th_TH
dc.title กลยุทธ์และนวัตกรรม th_TH
dc.title.alternative Strategy and innovation th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 3 th_TH
dc.volume 13 th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative Stalk et al. (1992) states that competitiveness is based on four principles: 1. Organizational strategy does not depend on product or market. But it depends on the business process. 2. The success of the competition depends on the core processes of the organization and to provide value to customers. 3. Organization employs investment strategies in Business Units (SBUs). 4. Ability to manage cross functions is the ability to make a strategy for every function of senior management (CEO) Generic strategies for innovation are based on the theory of competitive advantage which pays attention to the rewards that are worthwhile. This can be divided into 3 strategies as follows: 1) Strategies to focus on the product, market and target groups (Product-market-focussed strategies) 2) Strategies, opportunities, risks, target groups. (Opportunity-risk-focussed strategies). These strategies are based on risks and trends for the future. Miles and Snow's (1978) classifies these strategies into four categories: 2.1) Progressive-minded organizations. (Prospectors) 2.2) Organization with an analytical mindset (Analyzers) 2.3) Organization with mindset to protect themselves (Defenders) 2.4) Organization with inactive thoughts (Reactors) and 3) Strategies, time, industry and in mind. Time-based (Industry-and competitor-focussed) strategies th_TH
dc.journal วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law th_TH
dc.page 277-290. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account