dc.contributor.author |
รณรงค์ เส็งมี |
|
dc.contributor.author |
ธีระพงษ์ ภูริปาณิก |
|
dc.date.accessioned |
2022-08-03T03:30:32Z |
|
dc.date.available |
2022-08-03T03:30:32Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.issn |
1906-506X |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4612 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครังนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิต และปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของกำลังพลสังกัดกองพัน ทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 111 ตำบลท่าบุญมีอำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ กำลังพลในกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 111 ตำบลท่าบุญมี อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี จำนวน 217 นาย ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างของยามาเน่ (Yamane, 1973) โดยการสุ่มตัวอย่างใช้ววิธีการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถาม ค่าสัมประสิทธ์ิอลัฟา (.974) การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การประมวลผลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติสถิติที่ใช้ได้แก่ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)การทดสอบสมมติฐานใช้การทดสอบค่าที (t-test) และใช้ค่าสถิติการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way Analysis of Variance) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียรสัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) กำหนดนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ผลการวิจัยพบว่า 1) กำลังพลสังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 111 มีคุณภาพชีวิต โดยรวมอบู่ในระดับมาก ( = 3.53, S.D. = 0.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ ด้านอุดมการณ์คุณธรรมและด้านจริยธรรม อยู่ในระดับมาก รองลงมาคือ ด้านสวัสดิการ ด้านสุขภาพร่างกาย ด้านที่พักอาศัยด้านเครื่องแต่งกาย เครื่องนอนของใช้ประจำตัว และด้านอาหารและโภชนาการ อยู่ในระดับมาก และมีรายด้านที่มีค่าเฉลี่ยอยู่ในนระดับปานกลาง คือ ด้านความก้าวหน้าด้านสังคมสัมพันธ์และด้านผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ 2) การทดสอบสมมติฐาน พบว่า กำลังพลที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3) การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ปัจจัยด้านงานในภาพรวม ด้านการสนับสนุนทางสังคมจากหัวหน้า ด้านการสนับสนุนจากองค์กรและดา้นความสัมพนัธ์ในหน่วยงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตของกำลังพล (r= .530, r= .780., r= .698 p< .0.01 ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) แนวทางพัฒนาคุณภาพชีวิตของกำลังพลสังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 111 ตำบลท่าบุญมี อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี นั้น ควรมุ่งเน้นการพัฒนา ด้านผลตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ เป็นสำคัญโดยเน้นหลกัการการลดรายจ่าย
และเพิ่มรายได้เพื่อให้กำลังพลลดค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตในการเพิ่มรายได้
หน่วยงานควรมีการฝึกอบรมส่งเสริมให้กำลังพลสามารถสร้างอาชีพเสริมได้และด้านสังคมสัมพันธ์ควรมุ่งเน้นการสานสัมพันธ์ที่ดีภายในหน่วยงานโดยการสร้างกิจกรรมนันทนาการ นอกจากนั้นผู้บังคับบัญชาในแต่ละหน่วยงานควรให้ความเป็นกันเองกับผู้ใต้บังคับบัญชา มีการรับฟังความคิดเห็น การให้คำปรึกษาปัญหาต่าง ๆ ในชีวิตให้เป็นความสัมพันธ์แบบพี่น้อง |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพชีวิต |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพชีวิตการทำงาน |
th_TH |
dc.subject |
ทหารราบ |
th_TH |
dc.title |
ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของกำลังพลสังกัดกองพันทหารราบที่ 2 กรมทหารราบที่ 111 ตำบลท่าบุญมี อำเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
Factor affecting to quality of life of Military Officials in the 2nd Battalion of Infantry Regiment 111 in Taboonmee sub-district, Khochan district, Chon Buri Province |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
3 |
th_TH |
dc.volume |
13 |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research work aimed 1) To study quality of life of military officials in the 2nd battalion of
infantry regiment 111 in Taboonmee sub-district, Khochan District, Chon Buri Province and 2) To explore
Factor affecting to quality of life of military officials in the 2nd battalion of infantry regiment 111 in
Taboonmee sub-district, Khochan District, Chon Buri Province. The samples of this research were 217
military officials in the 2nd battalion of infantry regiment 111 in Taboonmee sub-district, Khochan
District, Chon Buri Province. The instrument used in this study was a questionnaire. The statistics used in
data analysis composed of frequency, percentage, mean and standard deviation. T-test, One-way ANOVA,
and Pearson Correlation at statistical significance of .05 were used for hypothesis test.
The result showed that : 1. For the exploration of the quality of life of military officials in the
2nd battalion of infantry regiment 111 in Taboonmee sub-district, Khochan District, Chon Buri Province
was at a high level in overall. When each aspect was examined, it was found that, in every aspect, the
level of quality of life was high. When considering each side It was found that the mean was at a high
level of 6 aspects, ordered in descending order as follows. Ideological Morality and ethics Followed by
welfare Physical health Residential side The costumes, bedding, personal belongings And food and
nutrition And there were 3 aspects of the average level, which were in descending order as follows. Social
relations And fair and sufficient returns. 2. The hypothesis testing found that personnel with different
mean monthly income. There is a different quality of life in the workplace. With statistical significance at
the .05 level. 3. The hypothesis testing found that the overall job factor in social support from the chief
Corporate support And the relationship in the agency There was a positive relationship with the quality of
life of the personnel. With statistical significance at the .05 level. |
en |
dc.journal |
วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย = Journal of politics, administration and law |
th_TH |
dc.page |
209-223. |
th_TH |