dc.contributor.author |
วรรณภา ฤทธิสนธิ์ |
|
dc.contributor.author |
ประภา นันทวรศิลป์ |
|
dc.contributor.author |
อดิศักดิ์ ภูมิรัตน์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-28T12:44:57Z |
|
dc.date.available |
2022-07-28T12:44:57Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4574 |
|
dc.description.abstract |
การจัดการความต้านทานต่อสารกำจัดแมลงในยุงก้นปล่องพาหะนำโรคไข้มาลาเรียอย่างมีประสิทธิผลนั้นต้องอาศัยระบบการเฝ้าระวังทางกีฏวิทยาที่เป็นระบบและต่อเนื่องซึ่งสามารถเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลงประชากรยุงก้นปล่องตลอดเวลาและทดสอบความไวต่อสารกำจัดแมลงในยุงก้นปล่องในพื้นที่เฝ้าระวัง เช่น พื้นที่การเกษตรที่เกษตรกรใช้สารไพรีทรอยด์ในปริมาณมาก เพื่อป้องกัน ควบคุม กำจัดแมลงศัตรูพืชสวนผลไม้ และมีแนวโน้มที่เสี่ยงต่อการแพร่โรคไข้มาลาเรียด้วย ในที่นี้ การประเมินความเสี่ยงทางนิเวศวิทยาที่ประยุกต์ใช้ได้กับพื้นที่เพาะปลูกพืชสวนผสมในจังหวัดตราด สามารถใช้ยุงก้นปล่องชนิด Anopheles campestris และ Anopheles barbirostris เป็นสปีชีส์ที่บ่งชี้ความไวต่อสารไพรีทรอยด์ ซึ่งยุงพาหะสงสัยนำโรคไข้มาลาเรียทั้งสองชนิดปรับตัวแพร่พันธุ์ได้ดีในพื้นที่การเกษตร การประเมินความเสี่ยงทางนิเวศวิทยานี้ยังสามารถนำไปใช้เพื่อประเมินความต้านทานของยุงก้นปล่องต่อสารพิษตกค้างในกลุ่มไพรีทรอยด์ และติดตามแนวโน้มความต้านทานที่เป็นไปได้ต่อสารไพรีทรอยด์ ในพื้นที่การเกษตรที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคไข้มาลาเรีย |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ไพรีทรอยด์ |
th_TH |
dc.subject |
ยากำจัดศัตรูพืช |
th_TH |
dc.subject |
ยุงก้นปล่อง |
th_TH |
dc.subject |
การประเมินความเสี่ยงด้านนิเวศวิทยา |
th_TH |
dc.title |
การเฝ้าระวังความต้านทานสารไพรีทรอยด์ของยุงก้นปล่องในพื้นที่การเกษตรในจังหวัดตราด |
th_TH |
dc.title.alternative |
Surveillance for Pyrethroid resistance in Anopheles vectors in agriculture areas in Trat province |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
1 |
th_TH |
dc.volume |
16 |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Effective insecticide resistance management of Anopheles malaria vectors relies on the ongoing and systemic entomological surveillance system that can monitor changes in Anopheles vector populations over time, and routinely, assess insecticide susceptibility in Anopheles wild populations in sentinel sites such as the agricultural lands where the farmers use the large amounts of pyrethroids for preventing, controlling, and eliminating insect pests and where prone to malaria transmission. Here, the ecological risk assessment applied to plantation areas of mixed orchards in Trat Province can employ Anopheles campestris and Anopheles barbirostris as
the indicative species of pyrethroid susceptibility. These malaria suspected vectors are adapted well to the agricultural lands.
This ecological risk assessment can also be applied to assess Anopheles vectors’ resistance against the residues of pyrethroids and monitor the possible pyrethroid resistance in the agricultural lands associated with malaria. |
th_TH |
dc.journal |
วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.page |
107-119. |
th_TH |