DSpace Repository

แนวทางเลือกสำหรับการกำจัดโรคไข้มาลาเรียโดยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย : การควบคุมพาหะแบบเจาะจง การควบคุมพาหะแบบผสมผสาน และการจัดการพาหะแบบผสมผสาน

Show simple item record

dc.contributor.author สุนทร พิมพ์นนท์
dc.contributor.author สุริโย ชูจันทร
dc.contributor.author ประภา นันทวรศิลป
dc.contributor.author อดิศักดิ์ ภูมิรัตน์
dc.date.accessioned 2022-07-28T11:48:01Z
dc.date.available 2022-07-28T11:48:01Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4573
dc.description.abstract การควบคุมพาหะเป็นกลยุทธ์สำคัญหนึ่งในการดำเนินโปรแกรมการกำจัดโรคไข้มาลาเรียตามแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการกำจัดโรคไข้มาลาเรีย ซึ่งกำหนดเป้าหมายให้ทุกอำเภอของประเทศไทยไม่มีการแพร่เชื้อมาลาเรียในพื้นที่ติดต่อกันอย่างน้อย 3 ปี ภายในปี 2567 บทความนี้ได้นำเสนอกรอบการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในการควบคุมพาหะ ได้แก่ การควบคุมพาหะแบบเจาะจงการควบคุมพาหะแบบผสมผสาน และการจัดการพาหะแบบผสมผสาน ซึ่งใช้เป็นแนวทางเลือกเชิงกลยุทธ์การควบคุมพาหะโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น องค์การบริหารส่วนตำบลหลายแห่งทั่วประเทศ ให้สามารถปรับใช้และนำแนวทางเลือกสำหรับการควบคุมพาหะไปใช้ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่รับผิดชอบซึ่งยังคงมีพื้นที่แพร่โรคหรือพื้นที่เสี่ยงแพร่โรคไข้มาลาเรีย และเป็นพื้นที่เป้าหมายของการดำเนินงานโปรแกรมการกำจัดโรคไข้มาลาเรียทั่วประเทศ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject มาลาเรีย th_TH
dc.subject มาลาเรีย -- การป้องกันและควบคุม th_TH
dc.subject พาหะนำโรค th_TH
dc.title แนวทางเลือกสำหรับการกำจัดโรคไข้มาลาเรียโดยองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทย : การควบคุมพาหะแบบเจาะจง การควบคุมพาหะแบบผสมผสาน และการจัดการพาหะแบบผสมผสาน th_TH
dc.title.alternative Approaches of choices for Malaria elimination by local administrative organizations in Thailand: Selective vector control, integrated vector control, and integrated vector management th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 16 th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative Vector control is a mainstay of strategies as part of the National Malaria Elimination Program aligned with the strategic plan and the action plan for malaria elimination in order to achieve the district-level malaria-free target for three consecutive years within a year 2024. This paper focuses on paradigm shift of vector control including selective vector control, integrated vector control, and integrated vector management. These options are vector control strategies available for local administrative organizations like Sub district Administrative Organizations across the country. They can adapt and adopt vector control strategies suited to be implemented within their responsible areas (ongoing transmission areas or transmission risk areas) where country-wide targeted by the National Malaria Elimination Program. th_TH
dc.journal วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.page 104-121. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account