DSpace Repository

คุณภาพทางกายภาพและจุลชีววิทยาของขนมไทยในตลาดหนองมนจังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author มารุต ตั้งวัฒนาชุลีพร
dc.contributor.author อภิญญา บุญเขียน
dc.contributor.author กุลวรา พูลผล
dc.contributor.author ภิษณี วิจันทึก
dc.date.accessioned 2022-07-23T10:01:06Z
dc.date.available 2022-07-23T10:01:06Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4551
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจขนมไทยที่เป็นที่นิยม 3 อันดับแรก และศึกษาลักษณะทางกายภาพ ตลอดจนการวิเคราะห์การปนเปื้อนของจุลินทรีย์ในขนมไทยที่จำหน่าย ณ ตลาดหนองมน จังหวัดชลบุรี วิธีการ สำรวจขนมไทยขายดีจากผู้ค้าและสุ่มเก็บตัวอย่างขนมไทย (ข้าวหลาม ขนมจากและขนมหม้อแกง) ชนิดละ 50 ตัวอย่าง จาก 50 ร้านค้า เพื่อทำการตรวจสอบทางกายภาพและจุลชีววิทยาด้วยวิธี Total plate count และ Yeast and Mold count ผลการศึกษา การวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพจากตัวอย่างขนมทั้งหมดไม่พบการปนเปื้อนจากสิ่งแปลกปลอม การทดสอบ Total plate count พบว่าตัวอย่างขนมจากและข้าวหลามทั้งหมดเป็นผลิตภัณฑ์ที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานโดยมีเชื้อจุลินทรีย์ไม่เกิน 1x106 CFU/g สำหรับขนมหม้อแกงพบการปนเปื้อนที่สูงกว่ามาตรฐานจำนวน 9 ตัวอย่าง คิดเป็นร้อยละ 18 ผลการทดสอบ Yeast and Mold count พบว่าขนมทั้งสามชนิดมีการปนเปื้อนของเชื้อต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน สรุป ภาพรวมของขนมไทยทั้ง 3 ชนิด มีลักษณะทางกายภาพและจุลชีววิทยาอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และเหมาะสมแก่การบริโภค อย่างไรก็ตามขนมหม้อแกง พบการปนเปื้อนของเชื้อแบคทีเรียสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานในบางตัวอย่าง ซึ่งอาจจะทำให้ผู้บริโภคเกิดอาการโรคอาหารเป็นพิษได้ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ขนม - - จุลชีววิทยา th_TH
dc.subject ขนม - - คุณภาพ th_TH
dc.subject การปนเปื้อนของจุลินทรีย์ th_TH
dc.title คุณภาพทางกายภาพและจุลชีววิทยาของขนมไทยในตลาดหนองมนจังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Physical and microbiological quality of Thai dessert at Nongmon market, in Chonburi, Thailand en
dc.type Article th_TH
dc.issue 1 th_TH
dc.volume 8 th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative Objective: To survey the top three popular Thai desserts at Nongmon market in Chonburi province, as well as study and analyze their physical quality and microbial contamination. Materials and Methods: We collected 50 samples each from 50 stores of the top three Thai desserts (Khao Lam, Khanom Jaak and Khanom Maw Kaeng). All samples were tested with a physical examination and analysis of microbial contamination, including Total Plate and Yeast and Mold Counts. Results: The physical quality results did not reveal any physical fluctuations from the Thai dessert samples. Upon analysis of microbial contamination, the total plate counts showed that Khao Lam and Khanom Jaak were within product standards (with microorganisms less than 1x106 CFU/g). However, 9 of the 50 Khanom Maw Kaeng samples had microorganisms higher than the safe standard (18%). The Yeast and Mold counts indicated that all Thai desserts passed standard criteria. Conclusion: The three kinds of Thai desserts are suitable for consumption. However, some samples of Khanom Maw Kaeng found bacterial contamination higher than the standard, i.e., some consumers may get symptoms of food poisoning after eating. th_TH
dc.journal บูรพาเวชสาร th_TH
dc.page 68-79. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account