DSpace Repository

Impact of early clinical exposure for second year medical students at Burapha University

Show simple item record

dc.contributor.author Sornsupha Limchareon
dc.contributor.author Chirat Sukme
dc.contributor.author Pakaphan Dinchuthai
dc.contributor.author Nalinee Pattrakornkul
dc.contributor.author Sineenart Panichyawat
dc.contributor.author ศรสุภา ลิ้มเจริญ
dc.contributor.author จิรัฏฐ์ สุขมี
dc.contributor.author ผกาพรรณ ดินชูไท
dc.contributor.author นลินี ภัทรากรกุล
dc.contributor.author สินีนาฏ พาณิชยวัฏ
dc.contributor.other คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
dc.date.accessioned 2022-07-21T01:34:46Z
dc.date.available 2022-07-21T01:34:46Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4541
dc.description.abstract บริบท การจัดการศึกษาแพทยศาสตร์ในวิถีแบบดั้งเดิมทำให้ผู้เรียนประสบความยากลำบาก การให้ผู้เรียนได้สัมผัสความรู้และประสบการณ์ทางคลินิกตั้งแต่ระยะเริ่มแรกส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 2 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาต่อโครงการ “การสัมผัสความรู้และประสบการณ์ทางคลินิกตั้งแต่ระยะเริ่มแรก” (ECE) วิธีการศึกษา นิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 2 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพาสมัครใจเข้าร่วมโครงการ ECE ที่คณะผู้วิจัยจัดขึ้นในภาคฤดูร้อนหลังสิ้นสุดปีการศึกษาปีที่ 2 โดยเป็นการฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วยในโรงพยาบาล จากนั้น นิสิตแพทย์ที่เข้าร่วมโครงการตอบแบบสอบถามทันทีเมื่อสิ้นสุดโครงการ และตอบแบบสอบถามเดิมอีกครั้งเมื่อ จบการศึกษาภาคต้นของชั้นปีที่ 3 ใน 6 เดือนต่อมา เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยความคิดเห็นระหว่าง 2 ครั้งโดยใช้สถิติ Wilcoxon match-pairs rank test เก็บข้อมูลเกรดเฉลี่ย (GPA) ของนิสิตปี 2 ภาคการศึกษาปลาย และนิสิตกลุ่ม เดียวกันเมื่อจบชั้นปี 3 ภาคการศึกษาต้น เปรียบเทียบเกรดเฉลี่ยของ 2 ภาคการศึกษาในนิสิตแพทย์ที่เข้าร่วม โครงการเพื่อดูการปรับปรุงโดยใช้สถิติ Wilcoxon match-pairs signed-ranks test เปรียบเทียบการปรับปรุง ของเกรดเฉลี่ยระหว่างนิสิตแพทย์ที่เข้าร่วมโครงการกับนิสิตที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการโดยใช้สถิติ independent samples t-test ผลการศึกษา มีจำนวนนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 2 สมัครใจเข้าร่วมโครงการ 15 คน คิดเป็นร้อยละ 31.25 อัตราการตอบ กลับแบบสอบถามร้อยละ 80 ในครั้งแรก และร้อยละ 100 ในครั้งที่สอง ไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของทั้งสองครั้ง (p = 1.00) นิสิตมากกว่าร้อยละ 90 เห็นด้วยว่าโครงการนี้ทำให้เข้าใจเนื้อหาวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์มากขึ้นและทำให้สนใจเรียนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ทางการแพทย์มากขึ้น นิสิตอย่างน้อยร้อยละ 60 เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งว่าโครงการนี้ทำให้เห็นความสำคัญของวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ทางการแพทย์มากขึ้น นิสิต 8 ใน 10 คนอยากให้โครงการนี้บรรจุในหลักสูตรรายวิชาเลือกและร้อยละ 60 ของนิสิตไม่อยากให้โครงการนี้ถูกตัดออกจากหลักสูตร นิสิตแพทย์ที่เข้าร่วมโครงการมีการปรับปรุงของเกรดเฉลี่ยระหว่าง 2 ภาคการศึกษาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.354). สรุป นิสิตแพทย์ส่วนใหญ่มีความเห็นในด้านบวกต่อโครงการ ECE โดยส่วนใหญ่อยากให้โครงการนี้บรรจุเป็นรายวิชาเลือกในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต th_TH
dc.language.iso en th_TH
dc.publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject Early clinical exposure th_TH
dc.subject Medical students th_TH
dc.subject Medicine -- Study and teaching th_TH
dc.title Impact of early clinical exposure for second year medical students at Burapha University en
dc.title.alternative ผลของการจัดประสบการณ์ทางคลินิกในช่วงต้นของหลักสูตรของนิสิตแพทย์ชั้นปีที่ 2 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 8 th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative Background: Traditional study in medicine carries a heavy workload for medical students to learn. Early clinical exposure (ECE) enhances students to learn more effectively. Objective: This study aimed to review the impact of ECE in 2nd-year medical students. Materials and Methods: A ward-based ECE program was offered to medical students of the Faculty of Medicine at Burapha University, upon completing their second year in an adjunct teaching position. Questionnaires about the student’s attitudes regarding the ECE program were sent to the participants, both at the end of the program, as well as 6 months later at the end of the first semester of their third year. The mean scores of the first and second surveys were compared using the Wilcoxon matched-pairs rank test. Additionally, the academic performance of each student determined by collecting grade point averages (GPAs), after both their 2nd -year second semester examination, and 3rd-year first semester examination were compared using the Wilcoxon matched-pairs signed-ranks test. The improvement of GPAs amongst those who participated in the program with those who did not participate was determined, using independent sample t-tests. Results: Fifteen (31.25%) 2nd-year medical students participated in the study. The response rate for the first survey was 80%, and the second was 100%. There was no statistical difference between the mean score of the first and second surveys (p = 1.00). More than 90% of students agreed that the program enhanced their understanding of the basic science topics, as well as increased their interest in the basic sciences. At least 60% of the students strongly agreed that this program helped them to realize the importance of basic sciences. Eight out of ten participants would like the program incorporated as an elective course. There was a significant improvement in the participant’s GPAs after the ECE (p<0.001). However, improvements in grades between students who participated in the program (mean = 0.20) did not significantly differ from those who did not participate (0.17) (p = 0.354). Conclusion: Most of the 2nd-year medical students had positive attitudes towards the ECE program with the majority of the students wanting the program incorporated in the elective part of the curriculum. en
dc.journal บูรพาเวชสาร th_TH
dc.page 15-25. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account