DSpace Repository

ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความเครียดในการดำเนินชีวิต และการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมสุขภาพในผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันภายหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ

Show simple item record

dc.contributor.author เอกพลพลเดช เดชแก้ว
dc.contributor.author นิภาวรรณ สามารถกิจ
dc.contributor.author เขมารดี มาสิงบุญ
dc.date.accessioned 2022-07-15T10:09:09Z
dc.date.available 2022-07-15T10:09:09Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4533
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความเครียดในการดำเนินชีวิต และการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมสุขภาพในผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน กลุ่มตัวอย่าง เป็นผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลัน ภายหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ 6-12 เดือน ที่มาตรวจติดตามอาการ ณ แผนกผู้ป่วยนอกคลินิกโรคหัวใจ โรงพยาบาลแห่งหนึ่ง สังกัดมหาวิทยาลัย i จำนวน 107 ราย สุ่มกลุ่มตัวอย่างโดยการกำหนดช่วงเวลา เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2563 ถึงเดือนมีนาคม พ.ศ. 2564 เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพ แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคม และแบบสอบถามความเครียดในการดำเนินชีวิต ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอนบราค ที่ .85, .87, .95 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัย พบว่า การรับรู้สมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .714, p < .001; r = .639, p < .001 ตามลำดับ) และความเครียดในการดำเนินชีวิตสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมสุขภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = -.658, p <.001) ผลการวิจัยเสนอแนะว่า พยาบาลควรออกแบบการส่งเสริมให้ผู้ป่วยกลุ่มนี้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยเน้นการเพิ่มการรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และลดความเครียดในการดำเนินชีวิต เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้ำและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ความสามารถในตนเอง th_TH
dc.subject พฤติกรรมสุขภาพ th_TH
dc.subject หลอดเลือดโคโรนารีย์ -- โรค th_TH
dc.subject ความเครียด (จิตวิทยา) th_TH
dc.title ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตน ความเครียดในการดำเนินชีวิต และการสนับสนุนทางสังคมกับพฤติกรรมสุขภาพในผู้ใหญ่ที่มีภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันภายหลังได้รับการขยายหลอดเลือดหัวใจ th_TH
dc.title.alternative Relationships of perceived self-effcacy, lifestyle stress, and social support to health behaviors in adults with acute coronary syndrome post percutaneous coronary intervention th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 29 th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative This descriptive correlational research aimed to examine the relationships of perceived self-effcacy, lifestyle stress, and social support to health behaviors in adults with acute coronary syndrome post percutaneous coronary intervention. The sample was 107 adults who routinely followed up at the heart clinic in the outpatient department of a tertiary hospital, Bangkok. Data were collected from December 2020 to March 2021. Instruments included a demographic record form, the Thai version of the Cardiac Health Behavior Scale, the Thai version of the General Perceived Self-Effcacy Scale, the Thai version of the Social Support of People with Coronary Heart Disease Scale, and the Thai version of the Perceived Stress Scale. Reliability coeffcients were .85, .87, .95, and .85, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and Pearson’s product-moment correlation coeffcient. The research results showed that perceived self-effcacy and social support had positive, signifcant relationships to health behaviors (r = .714, p < .001; r = .639, p < .001 respectively), while lifestyle stress had a negative, signifcant relationship to health behaviors (r = -.658, p < .001). The fndings suggest that nurses should develop nursing programs for this type of patient to help them benefcially modify health behaviors by increasing perceived self-effcacy and social support and by reducing lifestyle stress in order to prevent recurrent coronary syndrome. th_TH
dc.journal วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.page 71-80. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account