dc.contributor.author |
Kinley Gyaltshen |
|
dc.contributor.author |
Pornpat Hengudomsub |
|
dc.contributor.author |
Chintana Wacharasin |
|
dc.date.accessioned |
2022-07-15T08:38:00Z |
|
dc.date.available |
2022-07-15T08:38:00Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4526 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบด้านจิตใจและปัจจัยที่ส่งผลในพยาบาลที่ปฏิบัติงานโรงพยาบาลรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ประเทศภูฏาน เป็นการศึกษาแบบความสัมพันธ์เชิงทำนาย กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลที่ให้การดูผู้ป่วยโควิด-19 จำนวน 133 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับ ข้อมูลทั่วไป ความรู้เกี่ยวกับโควิด-19 ความกลัวเกี่ยวกับโควิด-19 ความเลื่อมใสและปฏิบัติด้านศาสนา การรับรู้ภาระงาน การรับรู้การสนับสนุนจากหน่วยงาน และผลกระทบด้านจิตใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์การถดถอยพหุ
ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยผลกระทบด้านจิตใจเท่ากับ 20.49 (SD = 6.07) ซึ่งจัดอยู่ในระดับ ปานกลาง จากตัวแปรที่ศึกษาทั้งหมด พบว่ามีเพียงความรู้เกี่ยวกับโควิด-19 ที่สัมพันธ์กับผลกระทบด้านจิตใจอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ความกลัวเกี่ยวกับโควิด-19 ความเลื่อมใสและปฏิบัติด้านศาสนา การรับรู้ภาระงาน และการรับรู้การสนันสนุนจากหน่วยงาน สามารถร่วมกันทำนายความแปรปรวนของผลกระทบด้านจิตใจได้ ร้อยละ 15.3 การรับรู้ภาระงาน เท่านั้นที่มีอิทธิพลต่อผลกระทบด้านจิตใจอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .28, p < .05) ผลการวิจัยนี้ทำให้ทราบถึงผลกระทบด้านจิตใจที่เกิดกับพยาบาล สามารถใช้เป็นข้อมูลพื้นฐาน ในการพัฒนารูปแบบการพยาบาลเพื่อบรรเทาผลกระทบนี้และสนับสนุนการปฏิบัติงานของพยาบาลในสภาวะการระบาดของโควิด-19 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
Nurses -- Psychology |
th_TH |
dc.subject |
Nurses -- Workload |
th_TH |
dc.subject |
COVID-19 (Disease) |
th_TH |
dc.subject |
COVID-19 (Disease) -- Nursing |
th_TH |
dc.title |
Psychological impact and its affecting factors among nurses working in COVID-19 designated hospitals in Bhutan |
th_TH |
dc.title.alternative |
ผลกระทบด้านจิตใจและปัจจัยที่ส่งผลของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรักษาผู้ป่วยโควิด-19 ในประเทศภูฏาน |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
3 |
th_TH |
dc.volume |
29 |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this study was to examine psychological impact and its affecting factors among the nurses working at COVID-19 designated hospitals in Bhutan. A predictive correlational design was used. The sample consisted of 133 nurses providing care for patients with COVID-19 in these hospitals using the simple random sampling technique. Self-reported questionnaires were used to collect data regarding nurses’ demographic information, knowledge about Covid-19, fear of Covid-19, religiosity, workload perception, perceived organizational support and psychological impact. Data were analyzed using the descriptive statistics and standard multiple regression. The results showed that this sample had a mean psychological impact score of 20.49 (SD = 6.07), and classified in a moderate level. Fear of COVID-19, religiosity, workload perception and perceived organizational support accounted for 15.3% of the variance in psychological impact. Only workload perception has significant effect on psychological impact (β = .28, p < .05). The study results will help to generate baseline data on the psychological impact occurred among these nurses. It can also be used to develop interventions to mitigate this psychological impact and support the work of nurses during such pandemics. |
th_TH |
dc.journal |
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.page |
102-114. |
th_TH |