DSpace Repository

การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่ดีในสถานประกอบการชั้นนำ

Show simple item record

dc.contributor.author นิสากร กรุงไกรเพชร
dc.contributor.author ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี
dc.contributor.author อริสรา ฤทธิ์งาม
dc.date.accessioned 2022-07-15T07:02:44Z
dc.date.available 2022-07-15T07:02:44Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4520
dc.description.abstract การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยช่วยลดอุบัติเหตุ ทำให้พนักงานมีความปลอดภัยและมีสุขภาพที่ดี ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มผลผลิต การวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ปัจจัยแห่งความสำเร็จ และสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพประจำสถานประกอบการในการจัดบริการพยาบาลอาชีวอนามัยในสถานประกอบการชั้นนำที่ได้รับรางวัลคุณภาพการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยระดับชาติ จำนวน 5 แห่ง ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ ได้แก่ ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน พยาบาลวิชาชีพ และผู้แทนพนักงาน รวมจำนวนทั้งสิ้น 32 คน ใช้วิธีบอกต่อในการเลือกผู้ให้ข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสำรวจกระบวนการผลิตและห้องพยาบาลประจำสถานประกอบการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า สถานประกอบการมีนโยบาย พันธกิจ ตลอดจนค่านิยมองค์กรด้านสุขภาพที่ชัดเจนและสื่อสารไปยังบุคลากรทุกระดับทราบและถือปฏิบัติ สร้างวัฒนธรรมความปลอดภัย นำมาตรฐานระบบการจัดการด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยมาประยุกต์ใช้ มีการแบ่งปันข้อมูลและถอดบทเรียนภายในองค์กร และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ในการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจะทำงานร่วมกัน การดำเนินงานทั้งเชิงรุกและเชิงรับครอบคลุมด้านสุขภาพ ความปลอดภัย และสิ่งแวดล้อมในการทำงาน การบริหารจัดการเพื่อการดูแลสุขภาพ พยาบาลวิชาชีพประจำสถานประกอบการแสดงบทบาทในการจัดบริการพยาบาลอาชีวอนามัยได้ตามสมรรถนะที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฯ คาดหวัง ประกอบด้วย สมรรถนะด้านการรักษาพยาบาลเบื้องต้น การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การบริหารจัดการและประสานงาน ผลการศึกษาสามารถนำไปเป็นแนวทางในการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในสถานประกอบการ เริ่มต้นจากความตระหนักของผู้บริหาร การนำนโยบายด้านสุขภาพสู่การปฏิบัติ การดำเนินงานภายใต้มาตรฐานสากล การมีส่วนร่วมของพนักงานทุกระดับพร้อมการพัฒนาศักยภาพ การประสานความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียฯ รวมถึงการจัดให้มีพยาบาลวิชาชีพที่มีความรู้ด้านพยาบาลอาชีวอนามัยปฏิบัติงาน th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject อาชีวอนามัย th_TH
dc.subject ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม th_TH
dc.subject สถานประกอบการ -- การจัดการ th_TH
dc.title การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัยที่ดีในสถานประกอบการชั้นนำ th_TH
dc.title.alternative Best practice of occupational health and safety management in high-end industries th_TH
dc.type Article th_TH
dc.issue 4 th_TH
dc.volume 29 th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative Occupational health and safety management contributes to reducing workplace accidents, while strengthening workers’ health and safety, all leading to reduced costs and enhanced productivity. The main objective of this descriptive research was to study the effects of occupational health and safety management, key success factors, and registered nurses’ competency in the workplace on occupational health nursing services. The study was conducted in five high-end industries that had received the national quality award in occupational health and safety management. The thirty-two participants were stakeholders in occupational health and safety management at the workplace, and consisted of executives, safety officer professionals, registered nurses, and workers’ representative. The participants were selected by snowball sampling. Focus groups, in-depth interviews, walk-through surveys on the production line and in the first-aid room were used for data collection. Content analysis was used to analyze the data. The study found that the workplaces had obvious health policies, missions, and corporate values, and communicated these to all levels of workers. Furthermore, the workplaces had to create a safety culture by using the occupational health and safety management system, sharing data and lessons learned in the organization, and teamwork. Proactive and reactive work practices covered occupational health, safety, the environment, and health care management. As expected, the registered nurses in the workplace showed competency in occupational health service delivery. These results can guide workplace occupational health and safety management by starting with executives’ awareness, converting workplace health policy into action based on international standards, encouraging participation by all levels of workers, strengthening health knowledge, encouraging stakeholders’ co-operation, and recruiting nurses with occupational health training. th_TH
dc.journal วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.page 1-12. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account