dc.contributor.author |
อัจจิมา ศุภจริยาวัตร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. โครงการจัดตั้งคณะพาณิชยศาสตร์และบริหารธุรกิจ |
th |
dc.date.accessioned |
2022-06-27T08:21:53Z |
|
dc.date.available |
2022-06-27T08:21:53Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4491 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยที่ได้รับเงินกองทุนวิจัยและพัฒนา งบประมาณเงินรายได้ส่วนงาน โครงการจัดตั้งคณะพาณิชยศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและศักยภาพผู้ผลิตสินค้าชุมชนในจังหวัดสระแก้ว อีกทั้งการศึกษาถึงกระบวนการพัฒนาสินค้าชุมชนเพื่อทำการขยายโอกาสทางการขายและการตลาด ผู้วิจัยพบว่าสินค้าผ้าไหมทอมือเป็นสินค้าที่มีความสำคัญต่อเศษฐกิจภายในจังหวัดสระแก้วเป็นอย่างยิ่ง ดังจะเห็นได้จากจำนวนกลุ่มผู้ประกอบการสินค้าชุมชนมีการรวมตัวกันเพื่อผลิตผ้าไหมทอมือจำนวนมาก อีกทั้งในหลายกลุ่มการรวมตัวกันอย่างเข้มแข็งยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้าและชื่อเสียงให้กับทางจังหวัดได้เป็นอย่างดี ผู้วิจัยได้ดำเนินการศึกษาแล้วพบว่ากลุ่มผ้าไหมทอมือขนาดเล็กรวมถึงขนาดกลางภายในจังหวัดยังขาดการดูแลช่วยเหลือในการพัฒนารูปลักษณ์สินค้าและวิธีการทางการตลาดในรูปแบบต่าง ๆ อีกเป็นจำนวนมาก จากเหตุผลทั้งหมดนี้ผู้วิจัยจึงได้ดำเนินการคัดเลือกกลุ่มผ้าไหมทอมือบ้านสุขสำราญเป็นกรณีศึกษา เพื่อบูรณาการองค์ความรู้และพัฒนารูปแบบวิธีการให้การสนับสนุนสินค้าชุมชนเพื่อใช้เป็นกระบวนการที่มีประสิทธิภาพในชุมชนอื่นต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
กองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
โครงการจัดตั้งคณะพาณิชยศาสตร์และบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ธุรกิจชุมชน |
th_TH |
dc.subject |
ผลิตภัณฑ์การเกษตร |
th_TH |
dc.title |
รูปแบบการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนในจังหวัดสระแก้วเพื่อการส่งออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Local Product Development Scheme of Sa Kaeo Province for Exporting |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
atchima@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The developmental schematic of Baan Suksamran social enterprise is an interesting research issue to studying the potential of rural community in terms of Thai silk manufacturer. The developmental process has the main objective on expanding the market and increasing sales volume of Thai handcraft silk. The researchers found that handcraft silk is one of an important industry of Sakaeo province. There are some problematic issues on social enterprises’ management and capability which affect their marketing capable to access the new market, specifically, to the foreign market. This research suggests that package design is the key component that induce foreign target customers to increase satisfaction on this product. Their own limitation and the continuity of government support program are the important factors indicate social entreprise development and survival.Finally, this paper suggests the most appropriate developmental scheme which it may be the selective fundamental for other social enterprise. |
en |
dc.keyword |
สาขาเศรษฐศาสตร์ |
th_TH |