dc.contributor.author |
ธันวพร แพทย์พิทักษ์ |
|
dc.contributor.author |
ระวีวรรณ วิฑูรย์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
th |
dc.date.accessioned |
2022-06-22T08:28:05Z |
|
dc.date.available |
2022-06-22T08:28:05Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4478 |
|
dc.description |
การวิจัยครั้งนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีงบประมาณ 2563 |
th_TH |
dc.description.abstract |
ความเป็นมาและความสาคัญ: สารทึบรังสีเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เกิดภาวะไตวายเฉียบพลันขึ้นได้ ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยที่มีผลทำให้เกิดภาวะนี้ เพื่อเป็นแนวทางในการดูแลรักษาผู้ป่วยต่อไป
วัตถประสงค์: หาอุบัติการณ์และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อภาวะไตวายเฉียบพลันจากการฉีดสารทึบรังสี (CIN) ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่เข้ารับการฉีดสารทึบรังสี ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา ในตุลาคม 2561 - ตุลาคม 2562
วิธีดำเนินการวิจัย: การศึกษาแบบย้อนหลัง (retrospective cross sectional study) เก็บข้อมูลของผู้ป่วยจากโปรแกรม HosXp, PAC และจากแฟ้มเวชระเบียน แล้วผ่านการคำนวณทางสถิติโดยใช้การวิเคราะห์แบบ Logistic regression และ Multivariate logistic regression
ผลการวิจัย: อุบัติการณ์การเกิด CIN เกิดขึ้น 23 คน จากทั้งหมด 205 คน คิดเป็นร้อยละ 11.2 โดยปัจจัยที่มีผลในการเพิ่มความเสี่ยง ได้แก่ ค่าการทำงานของไต (GFR) ที่น้อยกว่า 15 ml/min/1.73 m2 มีความเสี่ยงในการเกิด CIN เพิ่มเป็น 21.01 เท่า (95% CI : 3.34, 131.97, p=0.001) เมื่อเทียบกับ GFR ในช่วง 30 – 59 ml/min/1.73 m2, และปริมาณของสารทึบรังสีที่ได้รับเทียบกับน้ำหนักตัวที่ ≥ 2.5 ml/kg เพิ่มความเสี่ยงเป็น 4.8 เท่า (95% CI : 1.12, 20.61, p=0.035) เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับรังสีเทียบกับน้ำหนักตัว < 2.5 ml/kg
สรุป: ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่เข้ารับการฉีดสารทึบรังสี พบว่าค่าการทำงานของไต (GFR) < 15 ml/min/1.73 m2 และปริมาณของสารทึบรังสีที่ได้รับเทียบกับน้ำหนักตัวที่ ≥ 2.5 ml/kg เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดภาวะไตวายเฉียบพลัน |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th |
dc.subject |
ไตวายเฉียบพลัน |
th_TH |
dc.subject |
ไตวายเรื้อรัง |
th_TH |
dc.subject |
สารทึบรังสี |
th_TH |
dc.title |
อุบัติการณ์การเกิดภาวะไตวายเฉียบพลันจากการฉีดสารทึบรังสีและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่เข้ารับการฉีดสารทึบรังสี ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.title.alternative |
Incidence of Contrast Induced Nephropathy and associated factors in chronic kidney disease patient in Burapha University Hospital |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
phoenix_gam@hotmail.com |
th_TH |
dc.author.email |
r_aumy@hotmail.com |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Background: Contrast media is one of the most common causes of acute kidney failure. We, therefore, want to study the incidence and factors that cause this condition.
Objective: To determine the Incidence of Contrast-Induced Nephropathy (CIN) and associated factors in chronic kidney disease patients at Burapha University Hospital between October 2018 - October 2019.
Method: Retrospective cross-sectional study. The data were collected from program HosXp, PAC, and also from medical records. Statistical calculations were done, using Logistic regression and Multivariate logistic regression analysis.
Result: The incidence of CIN occurs in 23 out of 205 patients, accounting for 11.2%. Factors that increase the risk of CIN included kidney function (GFR) that is less than 15 ml/min/1.73m2, so that the risk of CIN increased to 21.01 times (95% CI: 3.34, 131.97, p = 0.001) compared to GFR in the range of 30 - 59 ml/min/1.73m2, and the amount of contrast media per body weight ≥ 2.5 ml/kg, increased the risk of CIN to 4.8 times (95% CI: 1.12, 20.61, p = 0.035) compared to the group that received the amount of contrast media per body weight <2.5 ml/kg.
Conclusion: In chronic kidney disease patients, kidney function (GFR) that is less than 15 ml/min/1.73m2 and the amount of contrast media per body weight ≥ 2.5 ml/kg increases the risk of CIN. |
en |
dc.keyword |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |