dc.contributor.author |
ระวีวรรณ วิฑูรย์ |
|
dc.contributor.author |
สมชาย ยงศิริ |
|
dc.contributor.author |
ศรสุภา ลิ้มเจริญ |
|
dc.contributor.author |
ตระการ ไชยวานิช |
|
dc.contributor.author |
ศิริญญา ปัญญา |
|
dc.contributor.author |
ธันวพร แพทย์พิทักษ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
th |
dc.date.accessioned |
2022-06-21T07:40:48Z |
|
dc.date.available |
2022-06-21T07:40:48Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4470 |
|
dc.description |
ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เลขที่สัญญา 011/2563 |
th_TH |
dc.description.abstract |
Bioimpedance คือ เครื่องมือที่นำมาใช้วัดปริมาณสารต่าง ๆ ในร่างกาย (body composition) มีหลักการคือ วัดคุณสมบัติการนำไฟฟ้า ความต้านทานไฟฟ้า และความสามารถในการเก็บประจุของร่างกายต่าง ๆ โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าปริมาณน้อย ๆ เข้าสู่ร่างกาย แล้ววัดค่า impedance และค่าทางไฟฟ้าอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง จากนั้นจึงนำค่าที่วัดได้ไปคำนวณหาปริมาณส่วนประกอบต่าง ๆ ของร่างกาย สามารถใช้ในการคำนวณสารอาหารต่าง ๆ ได้แก่ โปรตีน ไขมัน ปริมาณสารน้ำ การกระจายตัวของสารน้ำทั้งในเซลล์และนอกเซลล์ 1, 2 เป็นวิธีการที่ปลอดภัย และใช้มานานมากกว่า 40 ปี ในปัจจุบันมีการใช้ bioimpedance กันอย่างแพร่หลาย เช่น ประเมินไขมันในร่างกาย, ประเมินสารน้ำในผู้ป่วยไตวายที่ฟอกเลือด หรือล้างไตทางช่องท้อง, ประเมินสารน้ำในผู้ป่วยที่เข้ารับการดมยาสลบ และในผู้ป่วยที่เข้ารับการใส่ implant cardiac device เป็นต้น
เนื่องจากผู้ป่วยไตวายเรื้อรังเป็นกลุ่มที่มีโอกาสเกิด CIN ได้มากกว่าผู้ป่วยที่มีการทำงานของไตปกติ ประกอบกับการประเมิน volume status ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังมีความซับซ้อนมากกว่าคนทั่วไป การได้รับสารน้ำปริมาณน้อยไปอาจทำให้การทำงานของไตแย่ลงได้ แต่หากได้รับสารน้ำปริมาณมากไปอาจทาให้ผู้ป่วยมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะน้ำเกินอันเป็นอันตรายต่อชีวิต ผู้วิจัยจึงต้องการนำประโยชน์จากเครื่อง bioimpedance มาใช้ติดตามการให้สารน้ำในผู้ป่วยไตวายเรื้อรัง เพื่อให้ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่จะเข้ารับการฉีดสารทึบรังสีมีสารน้ำในร่างกายในระดับที่เหมาะสม (optimal volume status ) วัดจาก bioimpedance -1 < OH ≤ 1 ผู้วิจัยจะประเมินผู้ป่วยเป็นรายบุคคล และให้สารน้ำจนกระทั่งผู้ป่วยมี optimal volume status (วัดจาก bioimpedance -1 < OH ≤ 1) เปรียบเทียบกับกลุ่มที่ให้สารน้ำตามมาตรฐาน (normal saline 1 ml/kg/hr) แล้ววัดผลออกมาเป็นอุบัติการณ์การเกิด CIN โดยมีสมมติฐานว่า การใช้ bioimpedance เพื่อติดตามการให้สารน้ำ (-1 < OH ≤ 1) จะช่วยลดอุบัติการณ์การเกิด CIN ในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังลงได้อย่างมีนัยสำคัญเมื่อเทียบกับการให้สารน้ำตามมาตรฐาน (normal saline 1 ml/kg/hr) |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ภาวะไตวาย |
th_TH |
dc.subject |
โรคไตเรื้อรัง |
th_TH |
dc.title |
การใช้เครื่องมือวิเคราะห์องค์ประกอบของร่างกายเพื่อป้องกัน การเกิดภาวะไตวายเฉียบพลันจากการฉีดสารทึบรังสีในผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Bioimpedance analysis for preventing contrast induced nephropathy in chronic kidney disease patients |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
r_aumy@hotmail.com |
th_TH |
dc.author.email |
somshy@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
sornsupha@yahoo.com |
th_TH |
dc.author.email |
trakarn@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
Panyasurgery@gmail.com |
th_TH |
dc.author.email |
phoenix_gam@hotmail.com |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Bioimpedance is an instrument used to measure the amount of substances in the body (body composition) with the principle of measuring electrical conductivity. electrical resistance and the ability to store various body ions by passing a small amount of electricity into the body and measure impedance and other electrical parameters related Then the measured value can be used to calculate the amount of various components of the body. It can be used to calculate various nutrients such as protein, fat, water content. Distribution of water substances both intracellular and extracellular1,2 It's a safe method. And has been used for more than 40 years. Currently, bioimpedance is widely used, such as body fat assessment, fluid assessment in dialysis patients with renal failure. or peritoneal dialysis, assess fluids in patients undergoing general anesthesia and in patients undergoing implant cardiac device, etc. This is because chronic renal failure patients are more likely to develop CIN than those with normal renal function. In addition, the assessment of volume status in chronic renal failure patients was more complex than the general population. Too little fluid intake can worsen kidney function. But if it is exposed to a large amount of water, it may put the patient at risk of life-threatening overhydration. The researcher therefore wants to use the benefits of bioimpedance to monitor fluid intake in chronic renal failure patients. To ensure that patients with chronic renal failure undergoing contrast medium injections have an optimal level of fluid in the body (optimal volume status) as measured by bioimpedance -1 < OH ≤ 1. The investigator will assess the patient individually. and infusion until the patient achieved optimal volume status (as measured by bioimpedance -1 < OH ≤ 1), compared with the normal saline group (normal saline 1 ml/kg/hr), and the incidence was measured. It was hypothesized that bioimpedance to monitor fluid administration (-1 < OH ≤ 1) would significantly reduce the incidence of CIN in patients with chronic renal failure compared to intravenous fluid therapy. Standard (normal saline 1 ml/kg/hr) |
en |