dc.contributor.author |
อนุรัตน์ อนันทนาธร |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. รัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
th |
dc.date.accessioned |
2022-06-16T08:02:55Z |
|
dc.date.available |
2022-06-16T08:02:55Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4446 |
|
dc.description |
งานวิจัยฉบับนี้ ได้รับทุนสนับสนุนจากทุนอุดหนุนการทำวิจัย งบประมาณเงินรายได้ของคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปี 2563 |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นโยบายการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ กลไกการขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ และผลการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติด้านประสิทธิภาพ ประสิทธิผลและความยั่งยืน วิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงผสม การวิจัยเชิงคุณภาพใช้การศึกษาและวิเคราะห์จากเอกสารและการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสัมภาษณ์กลุ่ม การวิจัยเชิงปริมาณวิเคราะห์จากแบบสอบถามที่เก็บจากประชากรที่เป็นคณะกรรมการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ ของจังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา จำนวน 117 คน
ผลการศึกษาพบว่านโยบายการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการเป็นนโยบายที่ต้องการปฎิรูปการบริหารราชการของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดให้มีประสิทธิภาพ มีการบริหารเชิงยุทธศาสตร์และบูรณการการทำงานของส่วนราชการต่าง ๆ ในจังหวัด ให้เป็นไปทิศทางเดียวกัน ตั้งแต่การวางแผน การบริหารโครงการ และติดตามผลโครงการ (One Plan One Target) ขับเคลื่อนนโยบายดาเนินการในรูปคณะกรรมการ 3 ระดับ ได้แก่ คณะกรรมการระดับนโยบาย (กนจ.) คณะกรรมการระดับกลุ่มจังหวัด (กกบจ.) และคณะกรรมการระดับจังหวัด (กบจ.) มีการปฎิรูปกฏหมายการจัดทำแผนและงบประมาณ เพื่อให้อำนาจจังหวัดและกลุ่มจังหวัดสามารถจัดทำแผนพัฒนาด้วยตนเองเสนอและโครงการของบประมาณตรงต่อรัฐบาลโดยไม่ต้องผ่านกระทรวงการบริหารในระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดบริหารในรูปคณะกรรมการ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการในลักษณะ CEO และมีคณะกรรมการมาจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ส่วนราชการภูมิภาค รัฐวิสาหกิจและภาคเอกชน ปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการนานโยบายไปปฏิบัติที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 2 อันดับแรก ได้แก่ ความรู้ ความเข้าใจของหัวหน้าส่วนราชการเกี่ยวกับแผนงานบูรณาการ และการให้ความสาคัญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานที่ถูกต้อง รองลงมาได้แก่ ความรู้ความสามารถ ทักษะ ความชำนาญ ของผู้ปฎิบัติในการทำงานแบบบูรณาการ ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติค่าเฉลี่ยต่าที่สุดคือ รางวัลหรือสิ่งตอบแทนสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานและความเหมาะสมกับปริมาณงานและความรับผิดชอบ สำหรับผลของการนำนโยบายการบริหารจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการไปปฏิบัติ พบว่าโดยรวมนั้นมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.97 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย โดยสามารถเรียงลำดับจากมากไปน้อยได้ดังนี้ ด้านประสิทธิผล (การบรรลุเป้าหมายเชิงปฏิบัติ) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.01 รองลงมาคือ ด้านความยั่งยืนและการขยายต่อ (การบรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์) มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.96 และด้านประสิทธิภาพ (ความร่วมมือของหน่วยปฏิบัติ) ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.96 ตามลำดับ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การบริหารจัดการ |
th_TH |
dc.subject |
จังหวัด - - การบริหาร |
th_TH |
dc.title |
การวิเคราะห์นโยบายการบริหารจัดการจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ |
th_TH |
dc.title.alternative |
The Analysis for Provincial and Provincial Custer’s Integrated Administration Policy |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
anurat@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research aimed to analyze provincial and provincial cluster integrated
administration policy , policy implementation driving mechanical , factors affecting
policy implementation and results of the policy implementation in cases areas of
efficiency, effectiveness, and sustainable . Methodology applied in the research was
mixed method. Collected data by questionnaires from the members of provincial
integrated admiration policy in 3 EEC provinces ( Chonburi , Rayong and Cha choeng
Sao)total 117 sampling and deep interview from provincial administrators and expert
academics in public administration and public policy.
The research results showed that provincial and provincial cluster integrated
administration policy need reform public administration system of provincial to be
more efficient, management provincial by strategic model and integration of work
among provincial agencies in from of one plan one Target . The policy had been driven
by administrative were in 3 committees which are central policy committee , provincial
cluster committee , and provincial committee. Development the law for example
government planning and budgeting law to enabled provincial and provincial cluster
to make their own development plan and submit their project and budget requests
direct to the central government. As for the administration of provincial and provincial
cluster level committees, the governors were appointed to be committee chairman as
an CEO and committee members comprised representations from all stakeholders
including provincial officers, state enterprises, and private sectors.
In term of factors affecting policy implementation, the research found that the
first two factors with the highest average score were knowledge and understanding of
the head of provincial agencies on integrated programs and the signification of working
at standard level. Second wear knowledge and abilities skills, and expertise of officers
,suitability’s, of work quantity, and responsibility. As for the results of provincial and
provincial cluster interrelated policy implementation, the research found that overall
results were at the high level with and average score of 2.92. when considerers on
each aspect, all three factors were at high to low fallows ; effectiveness aspects
( to meet practical targets) with and average score 3.01, sustainable and extendable
( to meet strategic target) with an average score of 2.96 , and efficiency aspect
(Cooperation among agencies) average score of 2.96. |
en |
dc.keyword |
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
th_TH |