dc.contributor.author |
ธีระ กุลสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
สมคิด เพชรประเสริฐ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-15T09:14:31Z |
|
dc.date.available |
2022-06-15T09:14:31Z |
|
dc.date.issued |
2564 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4427 |
|
dc.description |
สนับสนุนโดยทุนอุดหนุนการวิจัย คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับการพัฒนาตนเองของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก 2) เพื่อศึกษาองค์ประกอบของปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเองของบุคลากรเทศบาลนครในภาคตะวันออก และ 3) เพื่อพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของการพัฒนาตนเองของบุคลากรในเทศบาลนครในภาคตะวันออก กลุ่มตัวอย่างเป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานในเทศบาลนครในภาคตะวันออก จำนวน 420 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรวัด 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ด้วยโปรแกรมสถิติสาเร็จรูป และตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุโดยใช้โปรแกรม LISREL
ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1) ระดับการพัฒนาตนเอง ด้านร่างกายและบุคลิกภาพ ด้านงาน และด้านสังคม อยู่ในระดับมากทั้งหมด 2) ตัวแบบความความสัมพันธ์เชิงสาเหตุ มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ดี ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ (Relative Chi-square) เท่ากับ 2.43 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืน (Goodness of Fit Index: GFI) มีค่าเท่ากับ .940 ดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว (Adjusted Goodness of Fit Index: AGFI) เท่ากับ .902 ดัชนีวัดความกลมกลืนเปรียบเทียบ (Comparative Fit Index: CFI) เท่ากับ .993 ค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของเศษเหลือในรูปคะแนนมาตรฐาน (Standardized Root Mean Square Residual: SRMR) เท่ากับ .028 ค่ารากของค่าเฉลี่ยกำลังสองของความคลาดเคลื่อนโดยประมาณ (Root Mean Square Error of Approximation: RMSEA) เท่ากับ .059 ตัวแปรความพึงพอใจในงาน บรรยากาศองค์การ คุณภาพชีวิตในการทำงาน และวัฒนธรรมองค์การ สามารถอธิบายการพัฒนาตนเองได้ร้อยละ 98.5 |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การพัฒาตนเอง |
th_TH |
dc.title |
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาตนเองของบุคลากรในเทศบาลนคร ในภาคตะวันออก |
th_TH |
dc.title.alternative |
Factors Influencing Self-Development of City Municipalities’ Officers in Eastern Region |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
teera@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
somkid@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2564 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objectives of this research are to 1) study the level of personal development among municipal personnel in the eastern region, 2) examine the factors affecting personal development among municipal personnel in the eastern region, and 3) develop a causal model of personal development among municipal personnel in the eastern region. The sample group consisted of 420 personnel working in the municipality offices in the eastern region. The adopted research instrument was a questionnaire with a 5-level gauge. The data were analyzed by using descriptive statistics provided in a ready statistics program and examined the structural validity of the causal relationship model using LISREL.
The research results can be concluded that 1) the levels of personal development, in terms of physical appearance and personality, work performance, and social aspects, are ranged in the high level; 2) the causal relationship model is well-consistent with the empirical data. The relative Chi-square value is equivalent to 2.43. The Goodness of Fit Index (GFI) is equivalent to .940. The Adjusted Goodness of Fit Index (AGFI) is equivalent to .902. The Comparative Fit Index (CFI) is equivalent to .993. the Standardized Root Mean Square Residual (SRMR) is equivalent to .028. The Root Mean Square Error of Approximation (RMSEA) is equivalent to .059. The variables of job satisfaction, organizational environment, quality of work life, and organizational culture can explain the personal development at 98.5 percent. |
en |