DSpace Repository

การเปรียบเทียบยา 0.05% ออกซีเมทาโซลีนทางจมูก กับยา 3% อีฟีดรีนทางจมูก เพื่อลดอาการคัดจมูก : การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดสองทาง

Show simple item record

dc.contributor.author เพ็ญมาศ ธีระวณิชตระกูล
dc.contributor.author นริศ เจียรบรรจงกิจ
dc.contributor.author ธนวิทย์ อินทรารักษ์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-06-14T09:02:39Z
dc.date.available 2022-06-14T09:02:39Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4415
dc.description งานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ เลขที่สัญญา ๐๑๐/๒๕๖๓ th_TH
dc.description.abstract ภูมิหลัง: มียาหลายชนิดที่ใช้ลดอาการคัดจมูกโดยมีทั้งชนิดรับประทานและพ่นจมูก ยาแบบพ่นจมูกแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่ม beta phenylethylamime derivatives และ midazoline derivatives และยังไม่มีรายงานเปรียบเทียบประสิทธิภาพของยาสองกลุ่มนี้ในการลดอาการคัดจมูก วัตถุประสงค์: เพื่อเปรียบเทียบยาพ่นจมูกระหว่าง 0.05% ออกซีเมทาโซลีนกับยา 3% อีฟีดรีน ในการลดอาการคัดจมูก วิธีการ: เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดสองทาง ในผู้ป่วยจำนวน 84 ราย อายุระหว่าง 18 60 ปี ที่มารับการตรวจที่คลินิก หู คอ จมูก โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา ระหว่างเดือนมกราคมถึงเมษายน 2563 โดยการวัด peak nasal inspiratory flow (PNIF) ก่อนและหลังใช้ยาพ่นจมูก 10 นาที และวัดระดับความรู้สึกโล่งจมูกด้วย visual analogue scale (VAS) ก่อนและหลังใช้ยาพ่นจมูก 10, 30 นาที วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และ Paired t Test แบบอิสระ ผล: ระดับ PNIF ก่อนและหลังพ่นยา ทั้งกลุ่มที่พ่น 0.05% ออกซีเมทาโซลีนและยา 3%อีฟีดรีน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p value < 0.005, 95% CI : 49.74, 26.45 และ p value < 0.005, 95% CI : 50.72, 31.42, ตามลาดับ) เช่นเดียวกับระดับความรู้สึกโล่งจมูก (VAS) ก่อนและหลังพ่นยา ทั้งกลุ่มที่พ่น 0.05% ออกซีเมทาโซลีน และยา 3% อีฟีดรีน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p value < 0.005, 95% CI : 1.523, 2.287 และ p value < 0.005, 95% CI : 2.656, 3.535 ตามลำดับ) ยาทั้ง 2 ชนิดสามารถเพิ่มระดับความโล่งของจมูกด้วยการวัดค่า PNIF ที่ 10 นาทีได้แต่ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระหว่างผลการใช้ยาทั้ง 2 ชนิด (p value = 0.847, 95% CI: 19.9, 24.2) สรุป: ยาพ่นจมูกทั้ง 2 ชนิดมีประสิทธิผลในการลดอาการคัดจมูกได้ไม่แตกต่างกัน แพทย์ผู้รักษาสามารถพิจารณาเลือกยาชนิดใดชนิดหนึ่งได้โดยอาจพิจารณาร่วมกับปัจจัยอื่นประกอบ th_TH
dc.description.sponsorship คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ยา - - การใช้ยา th_TH
dc.title การเปรียบเทียบยา 0.05% ออกซีเมทาโซลีนทางจมูก กับยา 3% อีฟีดรีนทางจมูก เพื่อลดอาการคัดจมูก : การวิจัยเชิงทดลองแบบสุ่มชนิดมีกลุ่มควบคุมแบบปกปิดสองทาง th_TH
dc.title.alternative A comparison of intranasal 0.05% oxymetazoline and intranasal 3% ephedrine for reducing nasal congestion : a double-blind randomized controlled trial en
dc.type Research th_TH
dc.author.email aompenmas@hotmail.com th_TH
dc.author.email rits_mt@hotmail.com th_TH
dc.author.email nightmare_junior@hotmail.com th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Background: There are many drugs that used to reduce nasal congestion, both oral and nasal spray. Nasal sprays divided into 2 groups: the beta phenylethylamime derivatives and midazoline derivatives and there are no comparative study of the effectiveness of these two drugs to reduce nasal congestion. Objective: to evaluating the efficacy of using intranasal 0.05% oxymetazoline, and intranasal 3% ephedrine to reduce nasal congestion. Method: A double blinded randomized controlled trial was conducted in 84 patients ages ranging from 18 to 60 years with nasal congestion at the Department of Otolaryngology, Burapha University Hospital from January to April 2020. The level of nasal relief was measured by Peak Nasal Inspiratory Flow (PNIF) before and after using the intranasal spray 10 minute ,Visual Analogue Scale was measured before and after using the intranasal spray 10, 30 minute. Then descriptive statistics and independent Paired t Test were applied to analyze the data. Results: The 84 patients (49 female, 35 male) with an average age of 39.54 years revealed that the level of PNIF measured before and after spraying 0.05% oxymetazoline and 3% ephedrine were statistically significant difference. (p value < 0.005, 95% CI : 49.74, 26.45 and p value < 0.005, 95% CI : 50.72, 31.42, respectively). The visual analog scale recorded before and after spraying 0.05% oxymetazoline and 3% ephedrine also showed a statistically significant difference (p value < 0.005, 95% CI : 1.523, 2.287 and p value < 0.005, 95% CI : 2.656, 3.535 respectively). The measuring PNIF at 10 minutes after using the intranasal spray illustrated that both drugs could increase the level of nasal relief. However, a non significant difference was reported when comparing these two drugs (p value = 0.847, 95% CI: 19.9, 24.2). Conclusion: the two drugs cloud reduce the blockage of the nasal passage, physicians may consider using them after deliberating other factors. en
dc.keyword ออกซีเมทาโซลีน th_TH
dc.keyword สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account