DSpace Repository

ความวิตกกังวลกับคุณภาพการนอนในมหาวิทยาลัยบูรพา ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒

Show simple item record

dc.contributor.author ฐิตินันท์ เอื้ออำนวย
dc.contributor.author ยุทธภูมิ มีประดิษฐ์
dc.contributor.author พงศ์พันธุ์ สุริยงค์
dc.contributor.author กฤตภาส กังวานรัตนกุล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์ th
dc.date.accessioned 2022-06-06T07:57:57Z
dc.date.available 2022-06-06T07:57:57Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4414
dc.description โครงการวิจัยประเภททุนอุดหนุนการวิจัย งบประมาณเงินรายได้ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ th_TH
dc.description.abstract วัตถุประสงค์: 1. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพการนอน กับ ภาวะซึมเศร้า ระหว่างอาจารย์ นิสิต และพนักงาน ของมหาวิทยาลัยบูรพา 2. เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพการนอน กับภาวะซึมเศร้า ระหว่างชายกับหญิง ของมหาวิทยาลัยบูรพา 3. เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้ากับคุณภาพการนอน 4. สำรวจการใช้ยาช่วยในการนอนกับยาลดภาวะซึมเศร้าที่มหาวิทยาลัยบูรพา วิธีวิจัย: การวิจัยภาคตัดขวางระยะสั้นแบบสำรวจที่มหาวิทยาลัยบูรพาเมื่อ พศ. 2562. บุคลากรของมหาวิยาลัยบูรพาแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มคือ อาจารย์ นิสิต และ พนักงาน กลุ่มตัวอย่าง 243 คน คำนวณจากตาราง Jacob Cohen หน้า 384 เมื่อ α =0.05, β=0.20, power=0.80, effect size=0.20, ได้ตัวอย่างกลุ่มละ 81 คน, สุ่มแบบโควต้า, เครื่องมือที่ใช้คือ Pittsburgh sleep quality index (PSQI) เป็นแบบสอบถามที่ให้ตอบเองเพื่อวัดคุณภาพการนอนและสิ่งรบกวน 2 สัปดาห์ แบบสอบถามมี 7 มิติ ประกอบด้วย 19 ตัวแปร, ภาวะซึมเศร้าวัดโดย Hamilton Depression Rating Scale (HAM-D), ผลการวิจัย 243 คน (100%) ตอบแบบสอบถามอย่างสมบูรณ์, ค่า Cronbach’s Alpha ของ PSQI และ HAM-D วัดได้ 0.74 และ 0.78 ตามลำดับ, หญิง 142 คน (58.44%) ชาย 101 (41.66%) คน, คะแนนเฉลี่ยของคุณภาพการนอนของ อาจารย์ นิสิต และ พนักงาน คือ 6.78>6.74>6.50 ตามลำดับ ไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ (p=0.124, ANOVA). แต่คะแนนคุณภาพการนอนของทั้ง 3 กลุ่ม >5, แปลว่า นอนไม่หลับอย่างอ่อน. คะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าของ อาจารย์ นิสิต และ พนักงาน คือ 7.43>7.10>6.46 (p=0.174, ANOVA),ภาวะซึมของทั้ง 3 ลุ่ม ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่มีคะแนน >7, ทั้ง 3 กลุ่มมีภาวะซึมเศร้าอย่างอ่อน, คะแนนเฉลี่ยของคุณภาพการนอนของ หญิงกับชาย คือ 6.47>6.14 (p=0.047* ANOVA). ชายมีคุณภาพการนอนดีกว่าหญิง อย่างมีนัยสำคัญ แต่คะแนนคุณภาพการนอนของทั้งชายและหญิง >5, แปลว่า ทั้งสองเพศนอนไม่หลับอย่างอ่อน, คะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าของ หญิงกับชาย คือ 7.71>6.12. (p=0.023* ANOVA), หญิงมีภาวะซึมเศร้ามากกว่าชายอย่างมีนัยสำคัญ แต่ทั้งสองเพศมีคะแนน >7, ทั้งหญิงและชายมีภาวะซึมเศร้าอย่างอ่อน. Pearson’s Correlation พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญในทางบวกระหว่างภาวะซึมเศร้ากับคุณภาพการนอน (P=0.024*, r=+0.536, R2=0.287). ยิ่งซึมเศร้ายิ่งนอนไม่หลับ, ยาที่ช่วยในการนอนที่ใช้มากสามชนิด ได้แก่ Lorazepam 0.5 มก., Lorazepam 1 มก., และ Clonazepam 0.5 มก. มีการใช้ยาเหล่านี้ 4.45%, 2.06% และ 65% ตามลาดับ ยาที่ช่วยลดภาวะซึมเศร้าที่ใช้มากสามชนิดได้แก่ Amitriptyline 10 มก., Fluoxetine 20 มก. และ Clonazepam 0.5 มก. สรุป คุณภาพการนอน กับภาวะซึมเศร้าของอาจารย์ นิสิต และพนักงานในมหาวิทยาลัยบูรพาไม่แต่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ แต่ คุณภาพการนอนชาย ดีกว่าหญิง ส่วนหญิงมีภาวะซึมเศร้ามากกว่าชาย, ภาวะซึมเศร้ากับคุณภาพการนอนกับมีความสัมพันธ์กันในทางบวก ยิ่งซึมเศร้ายิ่งนอนไม่หลับ th_TH
dc.description.sponsorship คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ความวิตกกังวล th_TH
dc.subject การนอนหลับ th_TH
dc.title ความวิตกกังวลกับคุณภาพการนอนในมหาวิทยาลัยบูรพา ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๒ th_TH
dc.title.alternative Depression and Insomnia in Burapha University, Thailand 2019 en
dc.type Research th_TH
dc.author.email atitinun@gmail.com th_TH
dc.author.email yutthapoom@buu.ac.th th_TH
dc.author.email pongpans@go.buu.ac.th th_TH
dc.author.email krittaphas@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative Objectives: 1. To compare quality of sleep (insomnia) and depression between lecturers, student and employees at Burapha University. 2. To compare quality of sleep (insomnia) and depression between female and male at Burapha University. 3. To investigate relationship between depression and quality of sleep. 4. To explore drugs prescribe for quality of sleep (insomnia) and depres at Burapha University. Method: A cross-sectional survey study was conducted at Burapha University in Chonburi, Thailand in 2019. There were three groups of people in Burapha University-lecturer, student and employee. N=243, sample size was calculated by Jacob Cohen’s table page 384, α =0.05, β=0.20, power=0.80, effect size=0.20, yielded n = 81 (in each group). Samples were randomly selected using quota sampling method. Instruments: Sleeping quality was measured by the validated Pittsburgh sleep quality index (PSQI). A self-rated questionnaire which assesses sleep quality and disturbances over a 2-weeks-time interval. This scale consisted of 7 constructs (19 observed variables). Depression was measured by The Hamilton Depression Rating Scale (HAM-D) Results: 243 (100%) questionnaires were completely collected. Cronbach’s Alpha for PSQI and HAM-D were 0.74 and 0.78 respectively. 142 (58.44%) were female and 101 (41.66%) were male. The means of insomnia of lecturer, student and employee were 6.78>6.74>6.50. It was not significantly different (p=0.124, ANOVA). Lecturer, student and employee group score were >5, all three groups were in mild insomnia. The means of depression of student, lecturer and employee were 7.43>7.10>6.46 (p=0.174, ANOVA). Three groups were not significantly different in depress. Depression of all three groups were >7, they were in mild depress stage. The means of insomnia score of female and male were 6.47>6.14 (p=0.047* ANOVA). Men quality of sleep was better than women however both scores were >5, both gender were in mild insomnia stage. The means of depression of female and male were 7.71>6.12. (p=0.023* ANOVA). Women were significantly more depress than men. Pearson’s Correlation confirmed a significant positive linear relationship between depression and quality of sleep (insomnia) (P=0.024*, r=+0.536, R2=0.287). The more depress the more insomnia. Three major drugs used for insomnia were Lorazepam 0.5 mg, Lorazepam 1 mg, and Clonazepam 0.5 mg: 4.45%, 2.06% and 1.65% respectively. Three most prescribed drugs for depress were: Amitriptyline 10 mg, Fluoxetine 20 mg. and Clonazepam 0.5 mg. Conclusions: Quality of sleep and depress of lecturers, students and employees in Burpha University were not significantly different. However, Quality of sleep of men was better than women and women were more depress than man. Depress significantly positively correlated with insomnia. The more depress they were, the lower quality of sleep they had. en
dc.keyword สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account