DSpace Repository

โครงการแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : บ้านมาบหม้อ ตำบลบ้านปึก อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author เกรียงศักดิ์ พราหมณพันธุ์
dc.contributor.author ชูศักดิ์ สุวิมลเสถียร
dc.contributor.author ธรรมศักดิ์ สงกา
dc.contributor.author มนัส แก้วบูชา
dc.contributor.author ศรัญญา ประสพชิงชนะ
dc.contributor.author ปาจรีย์ สุขาภิรมย์
dc.contributor.author พรทิพย์ พันธุ์ยุรา
dc.contributor.author สุภาภรณ์ เอี่ยมเข่ง
dc.contributor.author รุ่งอรุณ ดอนจันทร์ทอง
dc.contributor.author ศิริอร ศักดิ์วิไลสกุล
dc.contributor.author พีรพัฒน์ มั่งคั่ง
dc.contributor.author วัชรพงษ์ สุขีวงศ์
dc.contributor.author รินจง เสริมศรี
dc.contributor.author ณัฐวรา เทียนเหตุ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. สำนักบริการวิชาการ
dc.date.accessioned 2022-06-06T04:48:13Z
dc.date.available 2022-06-06T04:48:13Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4407
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 th_TH
dc.description.abstract โครงการแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : บ้านมาบหม้อ ตำบลบ้านปึก อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี (ปีที่ 1) มีวัตถุประสงค์ 1) คัดเลือก จำแนกประเภท จัดหมวดหมู่ จัดทำทะเบียนวัตถุของวัตถุและเครื่องมือเครื่องใช้ที่จะนำไปใช้จัดแสดงในการเตรียมจัดตั้งพิพิธภัณฑ์ชุมชนของชุมชนบ้านมาบหม้อ ตำบลบ้านปึก อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี และ 2) เพื่อศึกษารูปแบบและวิธีการขยายพันธุ์ต้นเท้ายายม่อมที่อยู่ในชุมชนบ้านมาบหม้อ ตำบลบ้านปึก อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบว่า วัตถุเครื่องมือเครื่องใช้หรือที่เรียกว่าวัตถุทางวัฒนธรรมบนเรือนบ้านยายไอ๊ มีจำนวนทั้งสิ้น 122 ชิ้น สำหรับการศึกษาการขยายพันธุ์ต้นเท้ายายม่อมนั้น วิธีการฟอกฆ่าเชื้อและสูตรอาหารที่มีผลต่อการชักนำยอดจากชิ้นส่วนหัวเท้ายายม่อมที่มีขนาดต่างกัน ในทุกสูตรอาหาร ชิ้นส่วนหัวเท้ายายม่อมให้เปอร์เซ็นต์การปลอดเชื้อเท่ากับ 100 และชิ้นส่วนหัวเท้ายายม่อมมีลักษณะทั่วไป คือ ชิ้นส่วนหัวยังไม่พบการงอกเกิดขึ้น อาหารที่เหมาะสมในการเพิ่มปริมาณยอดเท้ายายม่อม คือ อาหารแข็งสูตร MS ที่เติม BA ความเข้มข้น 1 และ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ให้จำนวนยอด 8.70 และ6.70 ยอด ความยาวยอดเฉลี่ย 1.67 และ 2.00 เซนติเมตร และขยายพันธุ์เท้ายายม่อมในสภาพปลอดเชื้อโดยใช้ชิ้นส่วนตำแหน่งบริเวณพื้นที่ใบที่ติดเส้นกลางใบของต้นกล้า สามารถเจริญเติบโตขยายปริมาณจำนวนต้น สร้างราก เพื่อดูดซึมอาหารในการเจริญเติบโตได้ดี ใช้ระยะเวลา 8 เดือน ส่วนการขยายพันธุ์เท้ายายม่อมโดยวิธีทางเขตกรรม พบว่าเจริญเติบโตได้น้อย" th_TH
dc.description.sponsorship สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ภูมิปัญญาท้องถิ่น th_TH
dc.subject การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ -- ชลบุรี th_TH
dc.title โครงการแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ : บ้านมาบหม้อ ตำบลบ้านปึก อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Ecotourism development guidelines for Baan Mab Mor, Baan Pouk sub-district, Muang district, Chonburi province en
dc.type Research th_TH
dc.author.email kriangsak@buu.ac.th th_TH
dc.author.email chusaks@buu.ac.th th_TH
dc.author.email songka@buu.ac.th th_TH
dc.author.email manusk@buu.ac.th th_TH
dc.author.email sarunyap@go.buu.ac.th th_TH
dc.author.email pajaree.su@buu.ac.th th_TH
dc.author.email porntipp@buu.ac.th th_TH
dc.author.email supaporn_ie@rmutto.ac.th th_TH
dc.author.email donjanthong@gmail.com th_TH
dc.author.email siriorn@buu.ac.th th_TH
dc.author.email perapat@buu.ac.th th_TH
dc.author.email watcharapongs@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative The Ecotourism Development Guidelines for Baan Mab Mor, Baan Pouk Sub-District, Muang District, Chonburi Province aims to 1) select, classify, register the objects and tools to be used in exhibitions in preparation for establishing a community museum of Baan Mab Mor Community, Ban Puek Subdistrict, Mueang District, Chon Buri Province, and 2) to study patterns and methods of propagating arrowroot trees in the community Map Mor Mo, Ban Puek Subdistrict, Mueang District, Chon Buri Province The results show that cultural objects of Museum House of Yaii Ai Handy Craft Weaving, there are 122 pieces. For the study of arrowroot propagation disinfecting methods and formulations that affect the induction of shoots from arrowroot heads of different sizes In all formulas, the arrowroot head gave sterile percentage equal to 100 and the arrowroot head part had a general characteristic that no head germination had occurred. The suitable food for increasing arrowroot were MS solid media with BA and concentration of 1 and 2 milligrams per liter gave the amount of shoots 8.70 and 6.70 shoots, the average shoot length of 1.67 and 2.00 cms. and propagated arrowroot in sterile conditions using the position piece of the leaf area attached to the center line of the seedling can grow expand the amount of roots to grow the food to absorb food for good growth in 8 months. The arrowroot propagation by karmic method found little growth en
dc.keyword สาขาเศรษฐศาสตร์ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account