DSpace Repository

การพัฒนาสมุดวัคซีนประจำตัวของผู้รับบริการวัคซีน ที่ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา

Show simple item record

dc.contributor.author เกรียงศักดิ์ สมบัติ สุรนาถวัชวงศ์
dc.contributor.author วรพจน์ ทรัพย์ศิริสวัสดิ์
dc.contributor.author ทิศมะลี ประสบกิตติคุณ
dc.contributor.author นลัท ชำนาญช่าง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2022-05-13T09:34:20Z
dc.date.available 2022-05-13T09:34:20Z
dc.date.issued 2564
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4340
dc.description ผลงานวิจัยฉบับนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จากงบประมาณเงินรายได้ คณะแพทยศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 th_TH
dc.description.abstract ทั่วโลกพบว่าความล้มเหลวของการได้รับวัคซีนในผู้ใหญ่ที่ครบถ้วนสมบูรณ์ โดยเฉพาะการรับวัคซีนที่มีการฉีดหลายเข็มในวัคซีนชนิดเดียวกัน (Multi-dose vaccine) ซึ่งการที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามจำนวนครั้งที่ต้องได้รับหรือไม่ตรงตามกรอบเวลาที่กำหนด ทำให้ประสิทธิภาพในการป้องกันโรคไม่ได้ผลเท่าที่ควร ซึ่งกระบวนการที่ใช้การบันทึกการได้รับวัคซีนในสมุดวัคซีนส่วนบุคคลมาใช้ในการให้บริการวัคซีน ณ ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา เพื่อทำให้เกิดความสมบูรณ์และความตรงตามกรอบเวลาของการได้รับวัคซีน และให้เกิดการสร้างภูมิคุ้มกันต่อโรคนั้น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิผลโดยการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการใช้งานสมุดบันทึกวัคซีนส่วนบุคคลในระยะก่อนและหลังการใช้งานสมุดบันทึกวัคซีนส่วนบุคคล และเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสมบูรณ์และความตรงตามกรอบเวลา ของการได้รับวัคซีนชนิดฉีดหลายเข็ม จากการศึกษาพบว่า กลุ่มอย่างทั้งหมดจำนวน 571 ราย (โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นคนไทย และมีอายุเฉลี่ยอยู่ที่ 34.93 ปี (S.D.=14.22) และ 31.67 ปี (S.D.=13.27) ตามลำดับ และกว่าครึ่งหนึ่งเป็นเพศหญิง (ร้อยละ 70.5, 61.2) ตามลำดับ ประกอบด้วยการได้รับวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี วัคซีนป้องกันหัด หัดเยอรมัน คางทูม และวัคซีนป้องกันอีสุกอีใส วัคซีนป้องกันมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 72, 15, 8 และ 5 ตามลำดับ จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าหลังการใช้สมุดวัคซีนมีอัตราการสมบูรณ์ และการตรงตามกรอบเวลาในการได้รับวัคซีนสูงกว่าก่อนการใช้สมุดวัคซีน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) th_TH
dc.description.sponsorship คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject วัคซีน th_TH
dc.subject การฉีดวัคซีน th_TH
dc.title การพัฒนาสมุดวัคซีนประจำตัวของผู้รับบริการวัคซีน ที่ศูนย์สร้างเสริมสุขภาพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.title.alternative The study to improve Vaccine record book among Vaccinee at Wellness Center Burapha University Hospital en
dc.type Research th_TH
dc.author.email kriangsak_s@buu.ac.th th_TH
dc.author.email cvsapsirisavat@gmail.com th_TH
dc.author.email thismalee@buu.ac.th th_TH
dc.author.email nalat@buu.ac.th th_TH
dc.year 2564 th_TH
dc.description.abstractalternative Background: Failure to complete multi-dose vaccination was profound in adults globally. The reminder and recall system was proposed to improve immunization rates. We implemented the personal vaccination record (PVR)for adult vaccine service at the Wellness Center, Burapha University Hospital. Objective: Before and after implementation of the vaccine record, this research describedcompletion and adherence rate,including their association factors.Methods: This retrospective study analyzed multi-dose vaccine recipient data at the wellness center, Burapha University Hospital during 2019-2020. Thepersonal vaccination record(PVR) was implemented from 2020 onward; recipients who initiated the vaccine before and after personal vaccination record were categorized as pre- personal vaccination record and post- personal vaccination record groups, respectively.The outcomes were completeness and adherence rate. Completeness is defined as the completion of the standard vaccine series (3 doses for Hepatitis B: HBV and Human Papillomavirus Vaccine: HPV vaccines; 2 doses for Measles-Mumps-Rubella: MMR and Varicella Vaccines: VAR vaccines).Adherence is defined as receiving the vaccines per recommended schedule or within a window period of an additional one week. Results: A total of 571 adults (66%female, mean age 33 years) initiated one of the multi-dose vaccine series; 308 and 263 were pre-personal vaccination record and post-personal vaccination record groups, respectively. The vaccine series consisted of Hepatitis B 72%,Measles-Mumps-Rubella 15%, Varicella Vaccines 8%, and Human Papillomavirus 5%.The completion and adherence rate were significantly higher in the post-personal vaccination record vs. pre-personal vaccination record group:88.6%vs. 60.1%and 85.9% vs. 55.2%.When adjusted for demographic data, personal vaccination record and adults aged ≥35 years old were significantly associated with the completeness and adherence of multi-dose vaccine series. en
dc.keyword สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account