dc.contributor.author |
ศิริอร ศักดิ์วิไลสกุล |
|
dc.contributor.author |
พีรพัฒน์ มั่งคั่ง |
|
dc.contributor.author |
สกุล ศิริกิจ |
|
dc.contributor.author |
วรัมพา สุวรรณรัตน์ |
|
dc.contributor.author |
พรรณภัทร อินทฤทธิ์ |
|
dc.contributor.author |
ธนัชพร นุตมากุล |
|
dc.contributor.author |
ชลิยา ใจเย็น อะอิดะ |
|
dc.contributor.author |
ศิริวดี บุญมโหตม์ |
|
dc.contributor.author |
ธรรมศักดิ์ สงกา |
|
dc.contributor.author |
วัชรพงษ์ สุขีวงศ์ |
|
dc.contributor.author |
จุฑารัตน์ ตำนานวัน |
|
dc.date.accessioned |
2021-09-22T06:39:07Z |
|
dc.date.available |
2021-09-22T06:39:07Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4281 |
|
dc.description.abstract |
โครงการวิถีชาติพันธุ์ชอง อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี : การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนกับการแพทย์พื้นบ้าน มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสำรวจ รวบรวม คัดสรร จัดระบบองค์ความรู้การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเกี่ยวกับพืชสมุนไพรกับการแพทย์พื้นบ้าน ของชุมชนชาติพันธุ์ชอง อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี 2) เพื่อส่งเสริมฟื้นฟูการใช้ภูมิปัญญาการดูแลรักษาสุขภาพของชุมชนชาติพันธุ์ชองอำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ให้เกิดปฏิบัติจริงในชีวิตประจำวัน 3) เพื่อสืบทอดองค์ความรู้การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเกี่ยวกับพืชสมุนไพรกับการแพทย์พื้นบ้านของชุมชนชาติพันธุ์ชอง อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี สู่คนรุ่นใหม่และจัดทำเอกสาร ตำราการแพทย์พื้นบ้านของชาติพันธุ์ชอง 4) เพื่อเผยแพร่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพเกี่ยวกับพืชสมุนไพรกับการแพทย์พื้นบ้านของชุมชนชาติพันธุ์ชอง อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ร่วมกับเครือข่ายหมอพื้นบ้านชาติพันธุ์อื่น ๆ ในเวทีสาธารณะ การวิจัยนี้เป็นการศึกษาด้านวัฒนธรรมสุขภาพ (Health Culture) เชิงคุณภาพ (Qualitative Study) ร่วมกับการสำรวจตรวจสอบ (Exploratory Research) และการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Research) โดยการเก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) แพทย์พื้นบ้านชาติพันธุ์ชองในการใช้พืชสมุนไพร บันทึกชนิดพันธุ์สมุนไพรที่ใช้ และแหล่งของพืชสมุนไพรด้วยการใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในตำบลคลองพลู
และตำบลตะเคียนทอง อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี ผลการศึกษาพบว่าหมอยาพื้นบ้านชาติพันธุ์ชองในตำบลคลองพลู อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี มีจำนวน 10 คน และตำบลตะเคียนทอง อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรีมีจำนวน 8 คน และสามารถแบ่งหมอยาพื้นบ้านตามวิธีการรักษาคือ การรักษาด้วยการเป่า การรักษาด้วยน้ำมัน การรักษาด้วยสมุนไพร การรักษาด้วยพิธีกรรม และการรักษาด้วยวิธีเหนือธรรมชาติ ซึ่งหมอยาพื้นบ้าน ไม่มีใบประกอบโรคศิลป์ รวมจำนวน 18 คน นอกจากนี้หมอยาพื้นบ้าน 1 คน ใช้วิธีการรักษามากกว่า 1 วิธี เรียกว่า การรักษาแบบผสมผสานขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วย ซึ่งเป็นการรักษา
ควบคู่กับการรักษาทางด้านจิตใจด้วย และจากการสำรวจพรรณไม้สมุนไพรในบริเวณป่าชุมชนของ
ตำบลคลองพลู และเส้นทางเดินในป่าชุมชนบริเวณน้ำตกตะเคียนทอง ผลการสำรวจพบว่ามีพืช
สมุนไพร จำนวน 90 ชนิด ทั้งนี้ไม่สามารถระบุชื่อพฤกษศาสตร์หรือชื่อวิทยาศาสตร์ได้ จำนวน 16 ชนิด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ชอง - - การดำเนินชีวิต |
th_TH |
dc.subject |
ชาติพันธุ์วิทยา - - ไทย - - จันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
ภูมิปัญญาชาวบ้าน - - แง่การแพทย์ |
th_TH |
dc.subject |
สมุนไพร - - แง่การแพทย์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
วิถีชาติพันธุ์ชอง อำเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี : การใช้ประโยชน์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนกับการแพทย์พื้นบ้าน |
th_TH |
dc.title.alternative |
Sustainable use of biodiversity and indigenous medicine of Chong Ethnic, Khao Kitchakood District, Chantaburi Provinec |
th_TH |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
siriorn@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
perapat@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
sakul@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
warumpa@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
phannapat@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
thanutchaporn.nu@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
Jaiyen.ch@gmail.com |
th_TH |
dc.author.email |
siriwadee@go.buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
songka@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
sukeevong_11@hotmail.com |
th_TH |
dc.author.email |
jutharat.buu@hotmail.com |
th_TH |
dc.year |
2559 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The sustainable use of biodiversity and indigenous medicine of Chong ethnic, Khao Kitchakood District, Chantaburi Province Project aims 1) to survey and collect the knowledge of utilize biological diversity on indigenous medicine of Chong Ethnic in Khao Kitchakood District, Chantaburi Province 2) to promote the revitalization of the use of wisdom in health care of the Chong ethnic community 3) to inherit the knowledge of the use of biological diversity on medicinal plants and indigenous medicine of Chong ethnic communities to new generation 4) to disseminate and exchange knowledge about the use of biodiversity in medicinal plants and the indigenous medicine of the Chong ethnic community together with the network of other ethnic doctors in the public area. This research is a study of health culture (Qualitative Study) in conjunction with exploratory research and participatory action.
Participatory Research by in-depth interviews with the Chong ethnic doctors in the use of medicinal plants and also recorded the herbs used. The source of medicinal plants using geo-informatics technology in Tambon Klong Plu and Tambon Takianthong, Khao Kitchakut District, Chantaburi Province. The result was that 10 Chong ethnic doctors in Tambon Klong Plu and 8 Chong ethnic doctors in Tambon Takianthong. The qualitative data analysis five catagories of Chong indigenous medicine including; 1) blow treatment 2) oil treatment 3) herbal treatment 4) ritual treatment and 5) conjuror or shamanism. 18 Chong ethnic doctors did not have the certificate. They used to treat more than one method; a integrated of treatment that depending on the capabilities of Chong indigenous medicine and diseases. A treatments are also integrated with psychotherapy. The herbal plants found at the trails in Tambon Klong Plu and Tambon Takianthong were comprised of 90 species in total. In this trails, 16 species; could not be classified its family. |
th_TH |