dc.contributor.author |
พงศธร สุธรรม |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะดนตรีและการแสดง |
|
dc.date.accessioned |
2021-07-04T08:17:26Z |
|
dc.date.available |
2021-07-04T08:17:26Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4276 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยเรื่องการสืบทอดอัตลักษณ์การตีกลองก้นยาวของแรงงานชาวไทใหญ่จังหวัดระยองเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเคลื่อนย้ายแรงงานชาวไทใหญ่และรวบรวมข้อมูลของชมรมชาวไทใหญ่จังหวัดระยอง และศึกษาการตีกลองก้นยาวของชาวไทใหญ่ในจังหวัดระยอง ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและสัมภาษณ์บุคคลข้อมูล จำนวน 38 ท่าน โดยใช้หลักการวิเคราะห์ทางมานุษยวิทยาทางดนตรี ผลการวิจัยพบว่าชมรมชาวไทใหญ่จังหวัดระยองก่อตั้งขึ้นโดยชาวไทใหญ่จากรัฐฉาน เป็นแห่งแรกของประเทศไทย เพื่อสร้างความเป็นพลวัตด้วยกิจกรรมทางสังคม โดยเฉพาะด้านศิลปวัฒนธรรมที่ผสมผสานกับสังคมท้องถิ่นอย่างกลมกลืน วงกลองก้นยาวเป็นวงดนตรีที่มีความเป็นสิริมงคล ใช้ในงานบุญประเพณีและกิจกรรมทางสังคม ซึ่งประกอบด้วยกลองก้นยาว 1 ใบ ทำหน้าที่สร้างกระสวนจังหวะอย่างหลากหลาย มอง 1 ชุด ทำหน้าที่ควบคุมจังหวะ และแส่ง 1 คู่ ทำหน้าที่ตีสอดประสานกับกระสวนจังหวะของกลองก้นยาว การบรรเลงมีลักษณะเป็นการด้นทั้งหมด สุนทรียภาพแสดงถึงความสนุกสนาน การตีกลองก้นยาวรับแขกมีโครงสร้าง คือ กระสวนจังหวะพื้นฐาน เรียงกระสวนจังหวะ และชุดกระสวนจังหวะ ซึ่งมีการจบชุดกระสวนจังหวะอย่างชัดเจน รูปแบบการตีเป็นการทอนจังหวะ และมีจังหวะเร็ว การตีกลองก้นยาวประกอบการแสดงกิงกะหล่าตีตามอากัปกิริยาของผู้แสดงและมีจังหวะค่อนข้างเร็ว ส่วนการตีกลองก้นยาวประกอบการแสดงก้าปั่นก๋องมีโครงสร้างและรูปแบบเช่นเดียวกับการตีกลองก้นยาวรับแขก แต่จะมีจังหวะช้า |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กลองก้นยาว |
th_TH |
dc.subject |
ไทใหญ่ |
th_TH |
dc.subject |
จังหวะดนตรี |
th_TH |
dc.subject |
การอนุรักษ์ดนตรี |
th_TH |
dc.subject |
สาขาปรัชญา |
th_TH |
dc.title |
การสืบทอดอัตลักษณ์การตีกลองก้นยาวของแรงงานชาวไทใหญ่ในจังหวัดระยอง |
th_TH |
dc.title.alternative |
The inheritance of the identity of Tai labors' Klong Kon Yao playing in Rayong province |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
1 |
th_TH |
dc.volume |
6 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The inheritance of the identity of Tai labors’ Klong Kon Yao playing in Rayong
Province is the quantitative research. The purposes of the study were 1) to study Tai’
transmission in Rayong Province 2) to collect the data of Tai Association in Rayong Province
and 3) to study Tai’s Klong Kon Yao playing in Rayong Province. The data were collected
from the documents and in-depth interview from 38 people. They were analyzed by
ethnomusicology theory. The results of the study were that Tai Association established by
Tai from the Shan State in Myanmar was the first association in Thailand. It aimed to show
the social dynamics, especially their art culture in local society. Klong Kon Yao ensemble
was played to express the propitiousness in the religious ceremonies and social activities.
It consisted of Klong Kon Yao that created various rhythms, Mong that controlled the rhythms
and Sang that played in the harmony with the Klong Kon Yao. The way of playing was the
improvising style. Its aesthetics was joyful. There were three forms of playing Klong Kon Yao
: basic rhythmic creating, melody creating and group melody creating. The group melody
creating ended clearly. The rhythm patterns of playing Klong Kon Yao were diminishing
rhythm and quick rhythm. While playing Klong Kon Yao accompanied with Kingkala
dance , the players used the quick rhythms for the performers’ postures. In the other hand,
the players used the slow rhythms for Kapankong dance |
en |
dc.journal |
วารสารดนตรีและการแสดง |
th_TH |
dc.page |
103-121 |
th_TH |