dc.contributor.author |
สุวารินทร์ ถิ่นทวี |
|
dc.contributor.author |
ภัทราวดี มากมี |
|
dc.contributor.author |
พีร วงศ์อุปราช |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-28T02:27:40Z |
|
dc.date.available |
2021-06-28T02:27:40Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4259 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมฝึกความสามารถด้านการใช้ภาษา สร้างแบบวัดเชาวน์ปัญญาด้านภาษาศาสตร์ ศึกษาผลของโปรแกรมฝึกความสามารถด้านการใช้ภาษาโดยเปรียบเทียบความแตกต่างของคลื่นไฟฟ้าสมองจากการทำแบบวัดเชาวน์ปัญญาด้านภาษาศาสตร์ ก่อนกับหลังฝึกด้วยโปรแกรมฝึกความสามารถด้านการใช้ภาษาและทดสอบปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศและเชาวน์ปัญญาทั่วไปที่มีผลต่อคลื่นไฟฟ้าสมองหลังฝึกด้วยโปรแกรมฝึกความสามารถด้านการใช้ภาษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 81 คน แบ่งเป็น 4 กลุ่ม (กลุ่มละ 19-21 คน) โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ 2x2 Factorial pretest and posttest Design (Between subjects) กลุ่มตัวอย่างเป็นอาสาสมัครเข้าร่วมการวิจัย เก็บรวมรวมข้อมูลจากกิจกรรมการทดสอบผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ด้วยแบบวัดเชาวน์ปัญญาด้านภาษาศาสตร์และวัดคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG) สถิติที่ใช้ได้แก่ การทดสอบที การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง และค่าขนาดอิทธิพล
ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมฝึกความสามารถด้านการใช้ภาษาที่พัฒนาขึ้นสามารถเพิ่มเชาวน์ปัญญาด้านภาษาศาสตร์ได้จริง ในภาพรวมกลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยพลังงานสัมบูรณ์ของคลื่นไฟฟ้าสมองหลังฝึกสูงกว่าก่อนฝึก เมื่อเปรียบเทียบระหว่างเพศหลังฝึกเพศชายมีคลื่นไฟฟ้าสมองสูงกว่าเพศหญิง เมื่อเปรียบเทียบระหว่างเชาวน์ปัญญาทั่วไปหลังฝึกกลุ่มที่มีเชาวน์ปัญญาทั่วไปต่ำมีคลื่นไฟฟ้าสมองสูงกว่ากลุ่มที่มีเชาวน์ปัญญาทั่วไปสูงมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศกับเชาวน์ปัญญาทั่วไปต่อคลื่นไฟฟ้าสมองช่วงความถี่ Gamma ที่ตำแหน่ง F3 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
วิทยาลัยวิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา มหาวิทยาลัยบูรพา |
|
dc.subject |
ความสามารถทางภาษา |
th_TH |
dc.subject |
ภาษาศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าสมอง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
การเพิ่มเชาวน์ปัญญาด้านภาษาศาสตร์ของนักเรียนระดับประถมศึกษาด้วยโปรแกรมฝึกความสามารถด้านการใช้ภาษา: การศึกษาเชิงคลื่นไฟฟ้าสมอง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Enhancing linguistic intelligence among primary school student using language comprehension training program: EEG study |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
17 |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research aimed to create a language comprehension training program create a linguistic
intelligence test and to study the results of the language comprehension training program. The
study was comparing the differences in the EEG from making linguistic intelligence test before and
after training with language comprehension training programs. The final study were testing of
interactions between gender and general intelligence that affected on the EEG post-training with
language comprehension training program. There are 81 students in sample group divide into 4
groups (19-21 per group) using 2x2 Factorial Pretest and Posttest Design (Between Subjects). The
subjects were volunteers to participate in the research. Collected data from test activities via
computer screen with linguistic intelligence test and EEG measurement. Statistics used are t-test
dependent Two-way ANOVA and effect size.
The results of the research showed that the language comprehension training program
could increase linguistic intelligence. In the overall the sample group had the absolute EEG after
training was higher than before training. The EEG of boys were higher than girls. The EEG of low
general intelligence groups were higher than high general intelligence groups. There were
interaction between gender and general intelligence on the Gamma brain waves at position F3. |
en |
dc.journal |
วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา |
th_TH |
dc.page |
1-18. |
th_TH |