dc.contributor.author |
รจฤดี โชติกาวินทร์ |
|
dc.contributor.author |
นริศรา จันทรประเทศ |
|
dc.contributor.author |
ภารดี อาษา |
|
dc.contributor.author |
ทิษฏยา เสมาเงิน |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-23T08:54:09Z |
|
dc.date.available |
2021-06-23T08:54:09Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4256 |
|
dc.description.abstract |
บทนำ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล มีผู้เข้าใช้บริการจำนวนมาก ระบบปรับอากาศภายในอาคาร หากบำรุงรักษาไม่ได้มาตรฐานเพียงพอ อาจก่อให้เกิดปัญหาการแพร่กระจายของแบคทีเรียในอากาศภายในอาคารและก่อให้เกิดโรคกับผู้เข้ารับบริการได้
วัตถุประสงค์ เพื่อประเมินปริมาณและชนิดของแบคทีเรียในอากาศภายในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล
วิธีการศึกษา การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง (cross-sectional descriptive study) โดยเก็บตัวอย่างอากาศช่วงฤดูฝนในห้องตรวจรักษา จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 30 แห่ง รวม 630 ตัวอย่าง ทำการเก็บตัวอย่างแบคทีเรียด้วยเครื่องแอนเดอร์เซน อิมแพคเตอร์ชนิดชั้นเดียวคุณภาพอากาศด้านกายภาพและเคมีตรวจวัดโดยใช้เครื่องมือชนิดอ่านค่าได้ทันที วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติ เชิงอนุมาน
ผลการศึกษา ชนิดของแบคทีเรียที่พบมากในการศึกษาครั้งนี้มี 3 ชนิด ได้แก่ Staphylococcus,
Corynebacterium, Streptococcus และปริมาณแบคทีเรียมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 583.19+304.36 CFU/m3 ซึ่งเกินค่าแนะนำของสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย (ไม่เกิน 500 CFU/m3) และองค์การอนามัยโลก (ไม่เกิน 100 CFU/m3) โดยปริมาณแบคทีเรียขณะให้บริการ (828.86+375.01 CFU/m3) มีปริมาณแบคทีเรียสูงกว่าก่อนให้บริการ (409.61+122.20 CFU/m3) และหลังให้บริการ (511.09+164.78 CFU/m3) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) โดยปริมาณแบคทีเรียในอากาศภายในห้องตรวจรักษาที่มีอุณหภูมิ (>26ºC) การเคลื่อนที่อากาศ (>0.30 m/s) และปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (>1,000 ppm) เกินข้อแนะนำของสำนักอนามัย จะมีปริมาณแบคทีเรียสูงกว่าที่ได้ตามข้อแนะนำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และค่าสัดส่วนของ I/O มีค่าสูงถึง 16 เท่า แสดงให้เห็นว่าแหล่งกำเนิดแบคทีเรียในอากาศภายในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลมาจากแหล่งกำเนิดภายในอาคาร
สรุป พบปริมาณแบคทีเรียภายในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จังหวัดนครสวรรค์ เกินค่าแนะนำของสำนักอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย (ไม่เกิน 500 CFU/m3) และองค์การอนามัยโลก (ไม่เกิน 100 CFU/m3) และแหล่งกำเนิดแบคทีเรียมาจากภายในอาคาร |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
แบคทีเรีย |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพอากาศ |
th_TH |
dc.subject |
คุณภาพอากาศภายในอาคาร -- การประเมิน |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การประเมินปริมาณและชนิดของแบคทีเรียในอากาศภายในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล |
th_TH |
dc.title.alternative |
Assessment of airborne bacteria concentration and type in health promoting hospitals |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
1 |
th_TH |
dc.volume |
7 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Introduction A lot of people come to the health promoting hospitals. Inadequate of indoor
air conditioner maintenance can also spread air-borne bacteria and cause diseases.
Objective To assess air quality in Health Promoting Hospitals – i.e., the physical and chemical
concentration of bacteria.
Methods This cross-sectional descriptive study and data collection was conducted during the
rainy season in the examining wards of 30 health promoting hospitals located in Nakhonsawan
province, Thailand. In total 630 samples were assessed. The airborne bacteria were collected
using a single-stage Andersen impactor. The physical and chemical air quality was assessed by
direct readings of assessment equipment. The collected data was analyzed by descriptive and
inferential statistical analysis.
Results The findings revealed that the three top types of bacteria were Staphylococcus,
Corynebacterium, and Streptococcus, respectively, and the average bacteria concentration
were 583.19+304.36 CFU/m3
– which exceeds the standard suggested by both the Office of
Health, Department of Health (<500 CFU/m3
) and WHO (<100 CFU/m3
). The amount of bacteria
was assessed before, during and after service. During service was 409.61+122.20 CFU/m3
, which
was higher than the prior service (409.61+122.20 CFU/m3
). After service (511.09+164.78 CFU/m3
)
showed a statistically significant difference (p<0.05). In addition, the bacteria quantity at room
temperature (>26o
C), air movement (>0.30 m/s), and carbon dioxide (>1000 ppm) levels were
found to exceed the conventional standard established by the Office of Health, Department
of Health, with a statistically significant difference (p<0.05). Finally, the I/O ratio rose as high
as 16 times, indicating that the substantial source of bacteria of the subjects hospitals were
reportedly indoor.
Conclusion The average bacteria concentration in health promoting hospitals located in
Nakhonsawan province exceeds the standards suggested by both the Office of Health,
Department of Health (<500 CFU/m3
) and WHO (<100 CFU/m3
). The substantial source of
bacteria was derived from indoors. |
en |
dc.journal |
บูรพาเวชสาร |
th_TH |
dc.page |
47-62. |
th_TH |