DSpace Repository

โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและสารต้านอนุมูลอิสระ

Show simple item record

dc.contributor.author วรานุรินทร์ ยิสารคุณ
dc.contributor.author กุลวรา พูลผล
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-06-23T08:33:09Z
dc.date.available 2021-06-23T08:33:09Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4254
dc.description.abstract บทนำ การดำเนินงานตามโครงการชายหาดปลอดบุหรี่ถือว่าเป็นการทำงานที่ทำให้เกิดสุขภาวะของประชาชนที่อยู่ในบริเวณชายหาดและปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ทั้งนี้ผู้ประกอบการถือว่าเป็นกลุ่มบุคคลสำคัญที่จะทำให้การดำเนินงานดังกล่าวประสบความสำเร็จ วัตถุประสงค์ เพื่อสำรวจการรับรู้และความร่วมมือของผู้ประกอบการชายหาดบางแสนหลังการรณรงค์งดสูบบุหรี่บริเวณชายหาดบางแสน วิธีการศึกษา การศึกษาแบบเชิงสำรวจผู้ประกอบการบริเวณชายหาดบางแสน จำนวน 293 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญโดยผู้เข้าร่วมโครงการตอบแบบสอบถามด้วยความสมัครใจ การศึกษาแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะก่อนการรณรงค์ (เดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2561) และระยะหลังการรณรงค์ (เดือนมีนาคมถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ.2561) เครื่องมือในการศึกษาคือแบบสอบถามชนิด application google form โดยผู้เข้าร่วมโครงการสามารถทำแบบสอบถามโดยสแกนรหัสคิวอาร์ รายงานข้อมูลด้วยความถี่และร้อยละ ผลการศึกษา หลังการรณรงค์งดสูบบุหรี่บริเวณชายหาดบางแสนพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการรับรู้ว่าชายหาดบางแสนเป็นชายหาดปลอดบุหรี่และรับรู้มาตรการทางกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการห้ามสูบบุหรี่อยู่ในระดับดีมาก (ร้อยละ 80 ขึ้นไป) ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือไม่สูบบุหรี่ทุกครั้งเมื่อพบเห็นป้ายเขตปลอดบุหรี่เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 50.0 เป็นร้อยละ 79.3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.028) และสูบบุหรี่ในบริเวณเขตสูบบุหรี่ที่กำหนดเท่านั้นเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 60.0 เป็นร้อยละ 86.2 ผู้เข้าร่วมโครงการเพิกเฉยเมื่อพบเห็นผู้สูบบุหรี่บริเวณชายหาดลดลงจากร้อยละ 48.5 เป็นร้อยละ 16.8 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.000) โดยวิธีการที่ผู้เข้าร่วมโครงการเลือกใช้มากที่สุดคือแนะนำให้ผู้สูบบุหรี่ดูป้ายประชาสัมพันธ์ (ร้อยละ 74.2) วิธีการประชาสัมพันธ์ที่ได้ผลมากที่สุดสองอันดับแรกคือ การประกาศเสียงตามสาย (ร้อยละ 85.3) และกิจกรรมการเดินรณรงค์ (ร้อยละ 83.7) สรุป ผู้ประกอบการบริเวณชายหาดบางแสนรับรู้กฎหมายการห้ามสูบบุหรี่บริเวณชายหาดบางแสนเพิ่มขึ้นหลังการรณรงค์ การบังคับใช้มาตรการทางกฎหมาย รวมทั้งการประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารผ่านการประกาศเสียงตามสายและการจัดกิจกรรมเดินรณรงค์เป็นกลยุทธ์หลักของเทศบาลเมืองแสนสุขที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการบริเวณชายหาดบางแสนให้ความร่วมมือปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้น th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ปอดอุดกั้น th_TH
dc.subject ปอด -- โรค th_TH
dc.subject แอนติออกซิแดนท์ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและสารต้านอนุมูลอิสระ th_TH
dc.title.alternative Chronic obstructive pulmonary disease and antioxidants en
dc.type Article th_TH
dc.issue 1 th_TH
dc.volume 7 th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Introduction Chronic Obstructive Pulmonary Disease or COPD has been reported as the third leading cause of death in the world. However, the cause of this disease is still unclear. Several reports reveal that COPD is associated with free radicals derived from smoking, pollution and biochemical reactions in the body. It induces chronic inflammation of bronchus and emphysema including mucus hypersecretion exudate. Nowadays, COPD cannot be cured. However, many studies report that antioxidants can prevent and reduce the free radicals that are the major cause of this disease. Objective To review the etiology and pathogenesis of COPD as well as its relationship to antioxidants for the prevention and treatment of this disease Conclusion Antioxidant is one of choices that can inhibit free radicals in COPD. However, COPD cannot be cured because the insufficient levels of antioxidants. Moreover, development of disease induced with free radicals for long time activates chronic inflammation and damage the respiratory system. Therefore, the mechanism of this disease is still be explored for the effective treatment in COPD patients. en
dc.journal บูรพาเวชสาร th_TH
dc.page 76-88. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account