dc.contributor.author |
ศุภเศรษฐ์ พึ่งบัว |
|
dc.contributor.author |
เกรียงศักดิ์ บุญญา |
|
dc.contributor.author |
ธนะวัฒน์ วรรณประภา |
|
dc.contributor.author |
แดน ทองอินทร์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-22T08:34:23Z |
|
dc.date.available |
2021-06-22T08:34:23Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4231 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้ มีจุดประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนออนไลน์ เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนบทเรียนออนไลน์ วิชา อินเทอร์เน็ต ด้วยแอปพลิเคชัน Google classroom สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านมหาเจริญ ตำบลทุ่งมหาเจริญ อำเภอวังน้ำเย็น จังหวัดสระแก้ว จำนวน 2 ห้องเรียน รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 67 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Sampling Random.) โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยสุ่ม จำนวน 34 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ บทเรียนออนไลน์ วิชาอินเทอร์เน็ต ด้วยแอปพลิเคชัน Google classroom สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 4 บทเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 20 ข้อ และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนออนไลน์ วิชา อินเทอร์เน็ต ด้วยแอปพลิเคชัน Google classroom จำนวน 20 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที (t-test) ผลการศึกษาพบว่า บทเรียนออนไลน์ วิชา อินเทอร์เน็ต ด้วยแอปพลิเคชัน Google Classroom สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1 มีค่า เท่ากับ 82.06, E2 มีค่า มีค่าเท่ากับ 81.10 ซึ่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนหลังเรียนอยู่ ในระดับมากที่สุด ซึ่งสูงกว่าสมมติฐานที่ตั้งไว้ในระดับมาก |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
กูเกิลคลาสรูม |
th_TH |
dc.subject |
แบบเรียนสำเร็จรูป |
th_TH |
dc.subject |
โปรแกรมสื่อทางการศึกษา |
th_TH |
dc.subject |
โปรแกรมประยุกต์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิชา อินเทอร์เน็ต ด้วยแอปพลิเคชัน Google classroom สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 |
th_TH |
dc.title.alternative |
Development of online lessons on internet subject with Google Classroom application for students grade 7 |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
15 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this study were: 1) to create and find the effective of online lessons., 2) to
compare the learning achievement and study about satisfaction of student who have used online
lessons on the internet by Google Classroom application for grade 7 students. The basic Education
Core Curriculum A.D. 2008.
A sample
Was select from grade 7 students of Mahajaroen School who study in semester 1 academic
year 2019 within 2 classrooms, 67 students. They were selected by cluster sampling random group by
using the classroom random based of unit which of 34 students. The tools used to collect information
include online lessons on internet with Google Classroom program, number of 4 chapter. Learning
achievement test number of 20 questions and satisfaction questionnaire with the learning by using
online lessons on internet with Google Classroom program for grade 7 students. The basic Education
Core Curriculum A.D. 2008 number of 20 questions. The statistics used to analyze data is mean ( ),
percentage (%), standard deviation (SD) and t-test.
The results of the study found that online lessons on internet with Google Classroom
program that built effective according to the criteria E1/E2 is equal to 82.06/81.10, which is the learning
achievement of lesson online on internet with Google Classroom program. After studying higher than
before, studying significantly in statistic .01 and satisfaction of the students to learn by using lesson
online on internet with Google Classroom program for grade 7 students. The basic Education Core
Curriculum A.D. 2008. After studying in the highest levels. Which is higher than the set hypothesis of
the high levels. The basic Education Core Curriculum A.D. 2008. After studying in the highest levels.
Which is higher than the set hypothesis of the high levels. |
en |
dc.journal |
วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม |
th_TH |
dc.page |
241-254. |
th_TH |