dc.contributor.author |
สิรวิชญ์ บำรุงพงษ์ |
|
dc.contributor.author |
ดุสิต ขาวเหลือง |
|
dc.contributor.author |
รุ่งฟ้า กิติญาณุสันต์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-22T06:55:32Z |
|
dc.date.available |
2021-06-22T06:55:32Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4226 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน 3) ศึกษาค่าดัชนีประสิทธิผลของการเรียน และ 4) ศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านหนองจอก กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 35 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม Cluster Random Sampling
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน ทั้งหมด 7 แผน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบสอบถามวัดความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที t-test
ผลการวิจัยพบว่า
1. ประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง
มีประสิทธิภาพของกระบวนการและผลลัพธ์ (E1/E2) เท่ากับ 86.03 และ 84.85 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 80/80
2. การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดย
โครงงาน เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. ค่าดัชนีประสิทธิผลหลังเรียนด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เท่ากับ 0.7292 หรือ 72.92%
4. ระดับความพึงพอใจ ของนักเรียนที่เรียนในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.53, SD = 0.57) |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การสอนแบบโครงงาน |
th_TH |
dc.subject |
กิจกรรมการเรียนการสอน |
th_TH |
dc.subject |
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี -- กิจกรรมการเรียนการสอน |
th_TH |
dc.subject |
อาหารท้องถิ่น |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่อง อาหารพื้นบ้านจังหวัดระยอง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 |
th_TH |
dc.title.alternative |
Project-based learning activity in occupation and technology learning area on traditional food in Rayong for grade 6 students |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
15 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The objective of this study were : 1) to study the efficiency of Project – Based Leaning Area,
title on Traditional Food in Rayong for Grade 6 students which have met the standard criterion set at
80/80; 2) to compare the students academic achievement Pre - test and Post - test: 3) to study the
effectiveness index of Project –Based Leaning Activity, and 4) to study the students satisfaction toward
Project – Based Leaning Activity lesson plans. The sample consisted of 35 students who were
randomed by cluster sampling. The instruments were 7 Project – Based Learning activity lesson plans,
achievement tests, and questionnaire. The collected data were analyzed by percentage, arithmetic
mean, standard deviation and t – test
The research findings were summerired as follows :
The efficiency of Project – Based Learning activity lesson plans in
Occupation and Technology Learning Area, title on Traditional Food in Rayong for Grade 6 students
was 86.03/84.85 which was higher than the standard criterion set at 80/80.
In comparative study students academic achievement. The average score of posttest was
significantly higher than that of the Pre – test at .05 level of significance.
The effectiveness index of Project – Based Learning Activity lesson plans in Occupation and Technology learning Area on Traditional Food in Rayong for Grade 6 students was 0.7292 or 72.92% The students satisfaction were at highest level ( 𝑥 = 4.53, SD = 0.57) |
en |
dc.journal |
วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม |
th_TH |
dc.page |
315-326. |
th_TH |