DSpace Repository

ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี

Show simple item record

dc.contributor.author สุนิสา ทรัพย์สูงเนิน
dc.contributor.author ดุสิต ขาวเหลือง
dc.contributor.author สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-06-22T02:39:54Z
dc.date.available 2021-06-22T02:39:54Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4217
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน ในรายวิชา หลักการบัญชีเบื้องต้น 1 ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี ที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษาที่เรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาการบัญชี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 35 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 4) แบบประเมินความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ทดสอบค่า t-test แบบ dependent Sample ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) พฤติกรรมการทำงานกลุ่มของนักศึกษาที่เรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD อยู่ในระดับดี และ 3) ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือ เทคนิค STAD อยู่ในระดับมาก th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject การทำงานกลุ่มในการศึกษา th_TH
dc.subject การบัญชี -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา) th_TH
dc.subject การบัญชี -- กิจกรรมการเรียนการสอน th_TH
dc.subject สาขาการศึกษา th_TH
dc.title ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 1 สาขาการบัญชี th_TH
dc.title.alternative The results of learning through collaborative STAD technique of first year high vocational certificate accounting program students en
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 2 th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative The purposes of this research were; 1) to compare learning achievement between pretest and posttest scores in Preliminary (Basic) Accounting Principle 1 course of first-year high vocational certificate students in accounting program who were studied using the collaborative learning model STAD technique. 2) To study the group working behaviors of students, and 3) to study student’s satisfaction toward learning activities by using the collaborative learning STAD technique. The samples consisted of 35 students who were selected for cluster random sampling. The research instruments were; 1) 4 lesson plans with collaborative learning STAD technique, learning achievement test, 2) group working behavior, and 3) satisfaction questionnaire. The statistics used for data analysis were means, standard deviation, and t-test dependent. The results of learning through collaborative learning STAD technique of first-year high vocational certificate students in accounting program were as follows: 1) The posttest score of learning achievement was significantly higher than the pretest score at the .05 level. 2) The group working behaviors of students were rated at the good level, and 3) The level of students’ satisfaction toward learning activities by using the collaborative learning STAD technique was rated at the high level. en
dc.journal e-Journal of Education Studies, Burapha University th_TH
dc.page 44-59. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account