dc.contributor.author |
ศิริยุพา สนั่นเรืองศักดิ์ |
|
dc.contributor.author |
นฤมล ธีระรังสิกุล |
|
dc.contributor.author |
พจนารถ สารพัด |
|
dc.contributor.author |
มณีพร ภิญโญ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะแพทยศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-21T09:03:31Z |
|
dc.date.available |
2021-06-21T09:03:31Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4215 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย กลุ่มตัวอย่างเป็นเด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมียที่มารับบริการแผนกผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก รูปแบบการศึกษาเป็นการวิจัยและพัฒนา แบ่งเป็น 2 ระยะคือ 1) การวิเคราะห์สถานการณ์ เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับเด็กโรคธาลัสซีเมีย จำนวน 11 คน และการตอบแบบสอบถามความรอบรู้ด้านสุขภาพ ความร่วมมือในการรักษา พฤติกรรมการจัดการตนเอง ของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 88 คน คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง และ 2) การพัฒนารูปแบบ ได้จากการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลจากระยะที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา วิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุแบบขั้นตอน และวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยในระยะที่ 1 จากข้อมูลเชิงคุณภาพ พบประเด็นหลักในการจัดการตนเองของเด็กคือ การจัดการตนเองด้านชีวิตประจำวัน การจัดการตนเองด้านจิตใจ และสิ่งสนับสนุนการจัดการตนเอง ส่วนข้อมูลเชิงปริมาณพบว่า ความร่วมมือ ในการรักษา และความรอบรู้ด้านสุขภาพ สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมียได้ร้อยละ 17.4 ส่วนในระยะที่ 2 ได้รูปแบบการจัดการตนเอง ประกอบด้วย 1) ปัจจัยนำเข้าด้านเด็ก ประกอบด้วยมุมมองของเด็กต่อการจัดการตนเอง ความร่วมมือในการรักษา ความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการจัดการตนเอง ด้านบริบทครอบครัวและทีมสุขภาพ 2) กระบวนการ ได้แก่ การเตรียมความพร้อม การพัฒนาความสามารถในการจัดการตนเอง และการสนับสนุนการจัดการตนเอง และ 3) ผลลัพธ์ ได้แก่ ภาวะสุขภาพและคุณภาพชีวิตของเด็ก
ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้ได้รูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย เพื่อเป็นแนวทางในการจัดทำโปรแกรมการจัดการตนเองของเด็กโรคธาลัสซีเมีย ปัจจัยความสำเร็จที่ทำให้รูปแบบเป็นไปได้จริงและยั่งยืนคือความร่วมมือระหว่างครอบครัวและบุคลากรทีมสุขภาพ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ธาลัสซีเมีย |
th_TH |
dc.subject |
ธาลัสซีเมียในเด็ก |
th_TH |
dc.subject |
การจัดการตนเอง (จิตวิทยา) |
th_TH |
dc.subject |
การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
รูปแบบการจัดการตนเองของเด็กที่ป่วยด้วยโรคธาลัสซีเมีย |
th_TH |
dc.title.alternative |
The model of self-management for children with thalassemia |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
28 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This study was designed to develop a model of self-management for children with thalassemia.
Participants were selected from in-patient and out-patient clinics in an Eastern regional hospital. This
research had two development/design phases: 1) Analysis of the situation -- qualitative data were
collected from in-depth interviews with 11 children, then 88 children were selected by purposive
sampling and quantitative data were collected via a health literacy questionnaire, medical adherence
questionnaire, and self-management behaviors questionnaire; 2) Model development – based on
analysis and synthesis of phase I data. Data were analyzed by descriptive statistics, stepwise multiple
regression, and content analysis.
Phase I qualitative data revealed that major themes of the self-management experiences of
children with thalassemia were: 1) Self-management for daily life; 2) Self-management for emotional
problems, and; 3) self-management support. The quantitative data showed medical adherence and
health literacy together accounted for 17.4% of the variance. The self-management model that emerged
consisted of: 1) Input, including child’s perspective of self-management, medical adherence, health
literacy and self-management behaviors, and family and health care team aspects; 2) Process,
consisting of readiness, developing ability of self-management, and self-management support, and;
3) Output, defined as child’s health status and quality of life.
The self-management model could be used to guide self-management program development
for children with thalassemia. The key successes derived from collaboration between family and health
care providers make the model possible and sustainable. |
en |
dc.journal |
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.page |
27-39. |
th_TH |