dc.contributor.author |
วิภา วิเสโส |
|
dc.contributor.author |
พจนารถ สารพัด |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-21T03:37:57Z |
|
dc.date.available |
2021-06-21T03:37:57Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4208 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนาเป็นวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพที่มุ่งอธิบายวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของคนในสังคมใดสังคมหนึ่ง สามารถศึกษาได้ทั้งในระดับมหภาคและจุลภาค โดยระดับมหภาคเป็นการศึกษาวัฒนธรรมในภาพกว้างส่วนระดับจุลภาคเป็นการศึกษาวัฒนธรรมที่มีจำเพาะโดยเป็นการศึกษาวัฒนธรรมในกลุ่มย่อย ปัจจุบันการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนาระดับจุลภาคได้ถูกนำมาใช้ในการวิจัยทางการพยาบาลมากขึ้น เพราะช่วยให้เข้าใจถึงวิถีชีวิตและบริบททางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มบุคคลที่มีความแตกต่างกัน และเกี่ยวข้องกับมุมมองของความเจ็บป่วยและพฤติกรรมทางสุขภาพ ทั้งนี้ ในบริบทของสังคมไทย ครอบครัวเป็นหน่วยทางสังคมที่มีความสำคัญ สมาชิกในครอบครัวที่มีความรักใคร่ผูกพัน มีการช่วยเหลือดูแลซึ่งกันและกัน เมื่อสมาชิกในครอบครัวคนใดคนหนึ่งเจ็บป่วย จะมีผลกระทบต่อระบบครอบครัว สมาชิกคนอื่นในครอบครัวมักจะเป็นผู้ให้การดูแล ซึ่งจะมีผลต่อการเจ็บป่วยด้วย ดังนั้น การศึกษาเพื่อทำความเข้าใจบริบททางสังคมวัฒนธรรมของแต่ละครอบครัวที่มีความแตกต่างกันโดยใช้การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา จึงมีความสำคัญในการพัฒนาการให้บริการทางสุขภาพที่สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละครอบครัว อันจะส่งผลต่อการดำรงไว้ซึ่งความสมดุลและความผาสุกของครอบครัว บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายความหมายและประเภทของการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา การวิจัยทางการพยาบาลที่ศึกษาโดยใช้รูปแบบของวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนา และการวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนากับการสร้างความเข้าใจการดูแลในครอบครัวตามบริบทของสังคมวัฒนธรรมไทย ซึ่งจะเป็นแนวทางที่ช่วยให้พยาบาลเกิดความเข้าใจในบริบทสังคมและวัฒนธรรมที่มีอิทธิพลต่อการดูแลในครอบครัวไทย |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ชาติพันธุ์วิทยา -- วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
การพยาบาล -- วิจัย |
th_TH |
dc.subject |
ความสัมพันธ์ในครอบครัว |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การวิจัยเชิงชาติพันธุ์วรรณนากับการสร้างความเข้าใจการดูแลในครอบครัวภายใต้บริบทของสังคมวัฒนธรรมไทย |
th_TH |
dc.title.alternative |
Focused ethnographic research and understanding of Thai family caregiving in Thai sociocultural context |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
28 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Ethnographic research is a qualitative method that aims to explain the way of life and culture
of people in a society. This method can be conducted at both macro and micro levels. The macro
level (traditional ethnography) takes a broader perspective, while the micro level (focused
ethnography) focuses more on a particular culture or subgroup. Focused ethnography has been
widely used in nursing research. It helps understand not only the way of life and cultural context of
different groups of people but also their unique views of illness and health behavior. In the context
of Thai society, the family is a most significant social unit. Members of the family are bound with love
and taking care of each other. An illness to one family member impacts the family system. Family
members are often primary caregivers; the intersection of family and caregiving uniquely impacts
treatment of and reaction to illness. Understanding the family in sociocultural context thus guides
providing care in accordance with the needs of each family and helps maintain family equilibrium
and well-being. The purposes of this article are to describe the meaning and types of ethnographic
research, including nursing research using ethnographic design, and to provide an understanding of
the sociocultural context of Thai family caregiving. This can help nurses understand the social and
cultural contexts that influence caregiving in Thai families. |
en |
dc.journal |
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.page |
122-134. |
th_TH |