DSpace Repository

รูปแบบกำหนดแนวทางในการบริหารจัดการสาธารณภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรม กรณีศึกษา : นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตีนิคมแหลมฉบัง และนิคมปิ่นทอง จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.author อาทิตย์ คชชา
dc.contributor.author สุชนนี เมธิโยธิน
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-06-17T02:17:55Z
dc.date.available 2021-06-17T02:17:55Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4183
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และวิเคราะห์รูปแบบการบริหารจัดการสาธารณภัย ที่ใช้กำหนดเป็นแนวทางการบริหารงานในการจัดการสาธารณภัยร่วมกัน ในเขตนิคมอุตสาหกรรม ที่ตั้งอยู่ในนิคมอมตะซิตี้ ชลบุรี นิคมแหลมฉบัง นิคมปิ่นทอง จังหวัดชลบุรี ระเบียบวิธีวิจัยใช้การวิจัยเชิงผสมผสาน (Mixed Methods Research) โดยศึกษาจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการสาธารภัยในนิคมอุตสาหกรรม ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์กับผู้ให้ข้อมูล จำนวน 15 คน เมื่อได้ผลการศึกษาเชิงคุณภาพ แล้วจะนำมาใช้เป็นแนวทางการสร้างแบบสอบถามที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 217 คน การวิเคราะห์เชิงปริมาณแปลค่าด้วย ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage), ค่าเฉลี่ย (Mean), ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้การทดสอบสมมติฐานโดยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุถดถอย (Multiple Regression Analysis : MRA) ผลการวิจัยพบว่า ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการป้องกันสาธารณภัย ในเขตนิคมอุตสาหกรรม ใน 3 อันดับแรก พบว่า การมีส่วนร่วมในการป้องกันสาธารณภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรม และการบริหารจัดการสาธารณภัย โดยรวมเฉลี่ยทุกด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด โดยผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า การมีส่วนร่วมโดยรวม มีความสัมพันธ์ค่อนข้างสูงกับการบริหารจัดการสาธารณภัย เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า การมีส่วนร่วม ด้านการให้ข้อมูลข่าวสาร ด้านการเกี่ยวข้องกับการป้องกันสาธารณภัย ด้านการร่วมมือ และด้านการเสริมอำนาจแก่ประชาชน มีอิทธิพลกับการบริหารจัดการสาธารณภัย ที่ระดับ 0.05 โดยผลจากการศึกษานี้สามารถนำไปใช้ในการพัฒนางานสาธารณภัยต่าง ๆ ได้ อาทิเช่น การจัดทำแผนนโยบาย/จัดระบบบัญชาการกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน การจัดประชุมร่วมกันของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การรวมตัวกันของโรงงานอุตสาหกรรมเพื่อเสริมสร้างศักยภาพในการจัดการสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นต้น th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ภัยพิบัติ th_TH
dc.subject การจัดการภาวะฉุกเฉิน th_TH
dc.subject การบรรเทาสาธารณภัย th_TH
dc.title รูปแบบกำหนดแนวทางในการบริหารจัดการสาธารณภัยในเขตนิคมอุตสาหกรรม กรณีศึกษา : นิคมอุตสาหกรรมอมตะซิตีนิคมแหลมฉบัง และนิคมปิ่นทอง จังหวัดชลบุรี th_TH
dc.title.alternative Model for managing public disaster in industrial estates. Case study of : Amata Nakorn Industrial Estate, Laem Chabang Industrial Estate and Pinthong Industrial Estate Chonburi province en
dc.type Article th_TH
dc.issue 1 th_TH
dc.volume 15 th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative The objectives of his research were to study and analyze disaster management model that would be used as guidelines for disaster management in the industrial estates located in Amata City Industrial Estate, Laem Chabang Industrial Estate, Pinthong Industrial Estate in Chonburi Province. Mixed methods research was used by studying those involved in disaster management in industrial estates. In qualitative research, the interview forms were given to 15 people who gave the information which would be used as a guideline for creating questionnaires for quantitative research in which there were 217 respondents. For quantitative analysis, the information was interpreted with frequency, percentage, mean, and standard deviation and Multiple Regression Analysis (MRA) was used for hypothesis testing. The results of the research showed that those involved in disaster prevention from 3 industrial estates had the overall participation in disaster prevention and disaster management in all aspects at the highest level. From the hypothesis test, it was found that overall participation had a relatively high relationship with management. When each aspect was considered, it was found that participation in providing information, disaster prevention, cooperation and the empowerment of the people, all of which had influence on disaster management at the level of 0.05. The results of this study could be used to develop the work of disaster prevention such as the formulation of a policy plan / system to control the emergency case, joint meetings of relevant parties, the cooperation of industrial plants to enhance the capacity of disaster management, and etc en
dc.journal วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์ th_TH
dc.page 104-119. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account