dc.contributor.author |
ปานฤทัย ปานขวัญ |
|
dc.contributor.author |
ดลดาว วงศ์ธีระธรณ์ |
|
dc.contributor.author |
ชมพูนุท ศรีจันทร์นิล |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-15T07:28:52Z |
|
dc.date.available |
2021-06-15T07:28:52Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4160 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง เพื่อศึกษาผลการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม ต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตระดับปริญญาตรี กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตระดับปริญญาตรี ที่มีค่าคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเอง ในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่ำกว่า 83 คะแนน และมีความสมัครใจในการเข้าร่วมการวิจัย จำนวน 16 คน สุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 8 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบประเมินการรับรู้ความสามารถของตนเอง ในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และโปรแกรมการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์ และพฤติกรรมที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้น เก็บข้อมูลโดยการวัดคะแนนเฉลี่ย การรับรู้ความสามารถของตนเองในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 3 ระยะ คือ ก่อนการทดลอง หลังการทดลอง และติดตามผล จากนั้นนำข้อมูลมาวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำประเภทหนึ่งตัวแปรระหว่างกลุ่มและหนึ่งตัวแปรภายในกลุ่ม ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีการทดสอบของบอนเฟอร์โรนี ผลการวิจัยพบว่า มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างวิธีการทดลองกับระยะเวลาการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นิสิตที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรม มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในระยะหลังการทดลอง และระยะติดตามผลสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และนิสิตที่ได้รับการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผลอารมณ์ และพฤติกรรม มีคะแนนการรับรู้ความสามารถของตนเองในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลสูงกว่าระยะก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การให้คำปรึกษาแบบกลุ่ม |
th_TH |
dc.subject |
นักศึกษา -- การให้คำปรึกษา |
th_TH |
dc.subject |
ความสามารถในตนเอง |
th_TH |
dc.subject |
การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ |
th_TH |
dc.subject |
นักศึกษา -- การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
ผลการปรึกษากลุ่มตามทฤษฎีพิจารณาเหตุผล อารมณ์ และพฤติกรรมต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการหลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของนิสิตระดับปริญญาตรี |
th_TH |
dc.title.alternative |
The effect of rational emotive behavior group therapy on alcohol abstinence self-efficacy in undergraduate students |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
31 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this experimental research was to determine the effect of rational emotive
behavior group therapy on alcohol abstinence self-efficacy of undergraduate students. The sample
was undergraduate students who had scores on the alcohol abstinence self-efficacy scale below
83, and voluntarily participated in the study. The subjects were randomly assigned into two groups:
the experimental group and the control group with eight members in each group. The research
instruments were the alcohol abstinence self-efficacy scale, and the rational emotive behavior group
therapy program, designed by the researcher. The study was divided into three phases: pretest,
posttest and follow up. The data were analyzed by repeated measures analysis of variance with
one between-subjects variable and one within-subjects variable, and Bonferroni’s measure to test
the difference of the means between the pairs of experimental and control groups.
The results indicated that there was a statistically significant interaction between the method
and the duration of the experiment (p> .05). In the posttest and follow up phases, the experimental
group had higher scores on the alcohol abstinence self-efficacy scale than the control group (p>
.05). In addition, the mean score of the experimental group increased significantly in the posttest
and follow up phases (p> .05) |
en |
dc.journal |
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. |
th_TH |
dc.page |
174-188. |
th_TH |