dc.contributor.author |
กิตติมา พันธ์พฤกษา |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะศึกษาศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-15T07:22:00Z |
|
dc.date.available |
2021-06-15T07:22:00Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4159 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 90 คน ซึ่งได้มาด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม ระดับชั้นละ 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบวัด Force Concept Inventory (FCI) ซึ่งเป็นแบบวัดมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมีมโนทัศน์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่เฉลี่ยร้อยละ 30.81 โดยมีมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับแรงคู่กิริยา/ปฏิกิริยา มากที่สุด (ร้อยละ 24.58) รองลงมาคือการเรียงต่อกันของอิทธิพลอื่นๆ (ร้อยละ 22.50) แรงขับดันภายใน (ร้อยละ 20.58) จลศาสตร์ (ร้อยละ 20.49) แรงกระทำ (ร้อยละ 16.90) และมีมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับอิทธิพลอื่นๆ ต่อการเคลื่อนที่น้อยที่สุด (ร้อยละ 14.81) |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การเคลื่อนที่ (กลศาสตร์) |
th_TH |
dc.subject |
ความคิดและการคิด |
th_TH |
dc.subject |
ความคิดรวบยอด |
th_TH |
dc.subject |
สาขาการศึกษา |
th_TH |
dc.title |
มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย |
th_TH |
dc.title.alternative |
The upper secondary school students' misconception of force and motion |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
31 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
The purpose of this research was to study upper secondary school students’ misconception of force and motion. The samples were 90 upper secondary school students who were studying in the first semester of 2018 academic year at a school in Chonburi Province using cluster sampling
technique, one class from each grade. The research instrument was Force Concept Inventory (FCI)
which is a standardized test. Data were analyzed by mean and percentage.
The results indicated that the percentage of students’ conceptionof force and motion was
30.81%, which misconception in the topic of Action/reaction pairs was the most (24.58%) followed by Concatenation of influences (22.50%), Impetus (20.58%), Kinematics (20.49%), Active forces (16.90%), and misconception in the topic of Other influences of motion was the least (14.81%). |
en |
dc.journal |
วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.page |
189-206. |
th_TH |