DSpace Repository

กลวิธีการนำเสนอลักษณะแทรจิคคอเมดีในละครเวทีเรื่องการมาเยือนของหญิงชรา

Show simple item record

dc.contributor.author คอลิด มิดำ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะดนตรีและการแสดง
dc.date.accessioned 2021-06-14T04:15:24Z
dc.date.available 2021-06-14T04:15:24Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4135
dc.description.abstract บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายกลวิธีการนำเสนอลักษณะขบขันแบบแทรจิคคอเมดีในละครเรื่องการมาเยือนของหญิงชรา โดยใช้การวิจัยบนฐานปฏิบัติการ ผ่านการสร้างสรรค์การแสดงของผู้วิจัยในฐานะนักแสดง โดยผลวิจัยพบว่า 1) รูปการนำเสนอสภาวะแทรจิคคอเมดีมีสองลักษณะได้แก่ จากขบขันไปสู่ความขมขื่น คือถ่ายทอดผ่านลีลาของความขบขันและพลิกไปเป็นความรู้สึกขมขื่น เพราะผู้ชมได้เห็นชะตากรรมที่น่าเศร้าของตัวละคร และจากความขมขื่นไปสู่ความขำขัน คือหัวเราะอย่างหมดหวังให้กับสถานการณ์ที่เราไม่สามารถจัดการอะไรได้ ทำได้เพียงหัวเราะแบบขำปนโศก 2) นำเสนอผ่านกลวิธีการสร้างตัวละครที่ลักลั่นผิดแผกไปจากปกติเพื่อสะท้อนด้านมืดที่น่าขบขันของเป็นมนุษย์ 3) การใช้การแสดงของนักแสดงถ่ายทอดสภาวะแทรจิคคอเมดีด้วยกลวิธีที่นักแสดงเข้าใจบทบาทของความเป็นตัวละครที่มีกลไกในการสร้างความขบขัน รวมถึงการทำความเข้าใจวงจรของรับส่งในการแสดง เพื่อนำพาผู้ชมให้เกิดความรู้สึกขบขันแบบแทรจิคคอเมดี th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะดนตรีและการแสดง มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject ละครชวนหัวแบบโศก th_TH
dc.subject ละครเวที th_TH
dc.subject การแสดง th_TH
dc.subject ละครโศกนาฏกรรม th_TH
dc.subject สาขาปรัชญา th_TH
dc.title กลวิธีการนำเสนอลักษณะแทรจิคคอเมดีในละครเวทีเรื่องการมาเยือนของหญิงชรา th_TH
dc.title.alternative Tragicomedy delivery styles in Kan Ma Yuean Khong Ying Cha-ra theater performance en
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 6 th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative This research aims to present methods of tragicomedy delivery based on practice-led research on the researcher’s role as an actor in a theater performance, Kan Ma Yuean Khong Ying Cha-ra. The results show three main findings. 1) There are two types of tragicomedy delivery methods: from humor to distress, by shifting humorous mood to distress due to the bitter fate of the character, and from distress to humor, by hopelessly laughing at the uncontrolled situation where the character cannot do anything but to bitterly laugh 2) Tragicomedy is delivered through designing peculiar characters to reflect the comical dark side of humanness 3) The actor embodied the character’s sense of humor as well as strived to understand the cycle of acting-reacting in order to lead the audience to feel the sense of humor in tragicomedy style. en
dc.journal วารสารดนตรีและการแสดง th_TH
dc.page 128-146. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account