dc.contributor.author |
วันเพ็ญ ฤทธา |
|
dc.contributor.author |
ตติรัตน์ เตชะศักดิ์ศรี |
|
dc.contributor.author |
พิริยา ศุภศรี |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะพยาบาลศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-06-14T02:58:04Z |
|
dc.date.available |
2021-06-14T02:58:04Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4129 |
|
dc.description.abstract |
การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงทำนาย เพื่อศึกษาความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน และปัจจัยทำนายความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ของมารดาที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ มารดาหลังคลอดที่จะกลับไปทำงาน จำนวน 155 ราย เก็บข้อมูลโดยใช้ด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน ทัศนคติเกี่ยวกับการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การคล้อยตามกลุ่มอ้งอิงในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การรับรู้ความสามารถในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของโรงงานอุตสาหกรรม
ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค .74, .73, .94, .92 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า คะแนนเฉลี่ยความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน เท่ากับ 36.70 (SD = 7.44) การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ การรับรู้ความสามารถในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และการสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของโรงงานอุตสาหกรรม สามารถอธิบายความแปรปรวนของความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนได้ร้อยละ 46.5 โดยการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นตัวทำนายที่ดีที่สุดและมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .50, p < .001) ดังนั้นพยาบาลควรส่งเสริมความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ โดยเพิ่มการมีส่วนร่วมของครอบครัวและโรงงานอุตสาหกรรมร่วมกับการรับรู้ความสามารถในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของมารดาที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ |
th_TH |
dc.subject |
มารดาและทารก |
th_TH |
dc.subject |
ระยะหลังคลอด |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
ปัจจัยทำนายความตั้งใจในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนของมารดาหลังคลอดที่ทำงานในโรงงานอุตสาหกรรม |
th_TH |
dc.title.alternative |
Factors predicting exclusive breastfeeding intention for 6 months among working mothers in the industry |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
3 |
th_TH |
dc.volume |
28 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This predictive study aimed to examine exclusive breastfeeding intention for 6 months and
factors predicting exclusive breastfeeding intention for 6 months among mothers working in
industry. The sample was 155 postpartum mothers returning to work in industry. Data collected by
questionnaires included demographic data, exclusive breastfeeding intention for 6 months, attitude
toward exclusive breastfeeding, subjective norm regarding exclusive breastfeeding, breastfeeding
self-efficacy and industry support for breastfeeding. The questionnaires’ Cronbach’s alpha coefficients
were .74, .73, .94, .92 and .96, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics and stepwise
multiple regression.
The results found that the mean score of exclusive breastfeeding intention for 6 months was
36.70 (SD = 7.44). Subjective norm regarding exclusive breastfeeding, breastfeeding self-efficacy and
industry support for breastfeeding explained 46.5% of the variance in exclusive breastfeeding intention
for 6 months. The subjective norm regarding exclusive breastfeeding was the best predictor of
exclusive breastfeeding intention for 6 months (β = .50, p < .001). The results of this study suggest
that nurses should promote exclusive breastfeeding intention and family and industry participation,
as well as promote breastfeeding self-efficacy among working mothers in industry. |
en |
dc.journal |
วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.page |
66-78. |
th_TH |