DSpace Repository

การรับรู้และการให้ความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยวต่อโครงการชายหาดบางแสนปลอดบุหรี่

Show simple item record

dc.contributor.author มณทิรา จรรยาภรณ์พงษ์
dc.contributor.author ณรงค์ชัย คุณปลื้ม
dc.contributor.author วัลลภ ใจดี
dc.contributor.author พัชนา เฮ้งบริบูรณ์พงศ์ ใจดี
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned 2021-05-24T08:22:13Z
dc.date.available 2021-05-24T08:22:13Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4092
dc.description.abstract การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้และการให้ความร่วมมือของผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยวต่อโครงการชายหาดบางแสนปลอดบุหรี่หลังการประกาศใช้กฎหมายชายหาดปลอดบุหรี่ ปี พ.ศ.2560 การศึกษาแบบเชิงสำรวจแบบตัดขวางประกอบไปด้วยผู้ประกอบการชายหาด 190 รายและนักท่องเที่ยว 453 รายโดยการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวก ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถดาวน์โหลดแบบสอบถามออนไลน์ผ่านการสแกนรหัส คิวอาร์ที่พิมพ์บนป้ายประชาสัมพันธ์บริเวณชายหาดระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนกันยายน พ.ศ.2561 การเปรียบเทียบข้อมูลของการรับรู้และการให้ความร่วมมือระหว่างสองกลุ่มใช้สถิติ chi-square ผลการวิจัยพบว่า หลังการดำเนินโครงการชายหาดบางแสนปลอดบุหรี่ ผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยวมากกว่าร้อยละ 80.0 รับรู้เกี่ยวกับเขตปลอดบุหรี่บริเวณชายหาด โดยผู้ประกอบการรับรู้สิทธิในการปกป้องสุขภาพของผู้ไม่สูบบุหรี่และการบังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชายหาดปลอดบุหรี่สูงกว่านักท่องเที่ยว (p<0.05) ผู้ประกอบการส่วนใหญ่รับรู้ข่าวสารจากการประกาศเสียงตามสาย (ร้อยละ 85.3) และการเดินรณรงค์บริเวณชายหาด (ร้อยละ 83.7) ในขณะที่นักท่องเที่ยวรับรู้ข่าวสารจากการอ่านป้ายประชาสัมพันธ์ที่ชายหาด (ร้อยละ 68.0) และการได้ยินประกาศจากเสียงตามสาย (ร้อยละ 50.1) สำหรับผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยว ที่สูบบุหรี่พบว่าให้ความร่วมมือในการงดสูบบุหรี่บริเวณชายหาดบางแสนมากกว่าร้อยละ 75.0 และจะสูบบุหรี่ ในเขตสูบบุหรี่ที่กำหนดทุกครั้ง โดยผู้ประกอบการมีส่วนร่วมในการสอดส่องผู้ที่สูบบุหรี่บริเวณชายหาดสูงกว่านักท่องเที่ยว (p<0.05) ซึ่งผู้ประกอบการนิยมวิธีการแนะนำให้ผู้สูบบุหรี่ดูป้ายประชาสัมพันธ์ (ร้อยละ 74.2) และวิธีตักเตือนด้วยวาจา (ร้อยละ 40.5) th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject โครงการชายหาดบางแสนปลอดบุหรี่ th_TH
dc.subject การรับรู้ th_TH
dc.subject ความร่วมมือ th_TH
dc.subject เขตปลอดบุหรี่ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ th_TH
dc.title การรับรู้และการให้ความร่วมมือระหว่างผู้ประกอบการและนักท่องเที่ยวต่อโครงการชายหาดบางแสนปลอดบุหรี่ th_TH
dc.title.alternative Perceptions and collaboration between the entrepreneurs and tourists to a smoke-free Bangsaen beach campaign en
dc.type Article th_TH
dc.issue 2 th_TH
dc.volume 9 th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative This research aimed to assess the perception and cooperation of entrepreneurs and tourists on the Bang Saen Smoke Free Beach Project after the promulgation of the Smoking free Beach Act 2017. This cross-sectional survey study was consisted of 190 beach entrepreneurs and 453 tourists with the convenient random sampling technique. Participants were able to download the online questionnaire through scanning the QR code printed on the beach information about smoking-free policy board between March and September 2018. The comparison of perception and collaboration between the two groups used chi-square test. The research results were found that after the implementation of the smoke-free Bangsaen Beach campaign, more than 80.0% of entrepreneurs and tourists perceived this campaign. The entrepreneurs perceived the rights to health protection of non-smokers and the enforcement of smoking-free beaches law higher than the tourists (p<0.05). Most entrepreneurs received the health news from voice announcements (85.3%) and communication campaigns on the beach (83.7%). On the other hand, tourists were aware of the health news by the information board situated on the beach (68.0%) and the voice announcement (50.1%). For both entrepreneurs and tourists on the collaboration, we found that more than 75.0% knew about the smoking free area at Bangsaen beach and smoke in the designed area. The entrepreneurs’ collaboration in respecting smoking surveillance is significantly higher than tourists (p < 0.05). They suggested smokers to read the board (74.2%) and to give verbal warning (40.5%). en
dc.journal วารสารการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.page 52-65. th_TH


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account