dc.contributor.author |
ธัชชนก สัตยวินิจ |
|
dc.contributor.author |
วีระ หวังสัจจะโชค |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-05-24T04:33:36Z |
|
dc.date.available |
2021-05-24T04:33:36Z |
|
dc.date.issued |
2563 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4088 |
|
dc.description.abstract |
บทความวิจัยฉบับนี้มีเป้าหมายในการศึกษาการจัดสวัสดิการภาคเกษตรจากภาครัฐสู่ชาวนาของสองประเทศส่งออกข้าวสำคัญ คือ ไทยและเวียดนาม เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดสวัสดิการกับระบอบการปกครอง โดยใช้วิธีการวิจัยสำรวจเอกสาร สัมภาษณ์เชิงลึก และการจัดเสวนากลุ่มในสองประเทศประกอบด้วยอำเภอสนามชัยเขตและอำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา สำหรับประเทศไทยเปรียบเทียบ กับจังหวัดนามดิ่ญห์ (Nam Định) และ ฮ่านาม (Hà Nam) สำหรับประเทศประเทศเวียดนาม ผลการศึกษาค้นพบว่าแม้ประเทศไทยจะมีระบอบการปกครองแบบผสมระหว่างประชาธิปไตยและอำนาจนิยม แตกต่างจากประเทศเวียดนามที่มีการปกครองแบบสังคมนิยม แต่ทั้งสองประเทศกลับมีสวัสดิการภาคเกษตรที่จัดให้กับชาวนาแบบเสรีนิยมเหมือนกันในสามด้านประกอบด้วยสวัสดิการภาคภาคเกษตรจะเน้นในเรื่องของการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน สวัสดิการสังคมสงเคราะห์ต่อชาวนายากจนให้เท่าที่เพียงพอจะสามารถแข่งขันในตลาดได้ และรูปแบบการคุ้มครองที่โยนภาระอยู่กับปัจเจกบุคคล มากกว่าจะเป็นการจัดสวัสดิการโดยรัฐเพื่อยกระดับมาตรฐานสังคมให้สูงขึ้น ทำให้ชาวนาของทั้งสองประเทศขาดความมั่นคงทางสังคมและสิทธิของพลเมือง |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
เกษตรกร -- ไทย |
th_TH |
dc.subject |
เกษตรกร -- เวียดนาม |
th_TH |
dc.subject |
รัฐสวัสดิการ -- เวียดนาม |
th_TH |
dc.subject |
สาขารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
สวัสดิการภาคเกษตรและระบอบการปกครอง : การเปรียบเทียบกรณีไทยและเวียดนาม |
th_TH |
dc.title.alternative |
Agricultural welfare and political regime: A comparison between Thailand and Vietnam |
en |
dc.type |
Article |
th_TH |
dc.issue |
2 |
th_TH |
dc.volume |
8 |
th_TH |
dc.year |
2563 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research paper studied an agricultural welfare system allocated by public sectors to peasants of two major rice-exporting countries, Thailand and Vietnam. To demonstrate relationship between welfare and government regime, documentary research and focus groups were employed to collect information from both countries, including Sanam Chai Khet and Bang Nam Prieo districts, Chachoengsao, Thailand, and Nam Định and Hà Nam, Vietnam. The finding indicated that political regimes of Thailand and Vietnam are hybrid regime and Socialist state respectively. Both regimes, however, had liberal welfare system concentrating on three issues: competitiveness, social work policy to help peasants who were under privileged for only survival in the market system, and volunteering insurances based on individuals rather than state intervention to improve higher standard of social wellbeing. Consequently, Thai and Vietnamese peasants have become underclass who are defined by insecurity and losing citizenship rights. |
en |
dc.journal |
วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา |
th_TH |
dc.page |
79-105. |
th_TH |