dc.contributor.author |
ฉลวย มุสิกะ |
th |
dc.contributor.author |
วันชัย วงสุดาวรรณ |
th |
dc.contributor.author |
อาวุธ หมั่นหาผล |
th |
dc.contributor.author |
แววตา ทองระอา |
th |
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2021-05-16T10:58:56Z |
|
dc.date.available |
2021-05-16T10:58:56Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4073 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557-2558 |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษาการสะสมโลหะหนักของฟองน้ำทะเล บริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก โดยเก็บตัวอย่างฟองน้ำจากหมู่เกาะมัน เกาะสะเก็ด จังหวัดระยอง และหมู่เกาะสีชัง จังหวัดชลบุรี จ้านวน 7 สถานี เก็บตัวอย่างรวม 6 ครั้ง ระหว่างเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 ถึง เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ได้ตัวอย่างฟองน้ำทะเล 20 ชนิด รวมทั้งสิ้น 184 ตัวอย่าง นำมาวิเคราะห์โลหะหนัก 7 ชนิด ได้แก่ Cd, Cu, Fe, Hg. Ni, Pb และ Zn ด้วยเทคนิค atomic absorption spectrophotometry ผลการศึกษาพบว่า ฟองน้ำทะเลมีการสะสม Cd, Cu, Hg. Ni และ Zn ไว้ได้มากกว่าความเข้มข้นของโลหะหนักดังกล่าวที่มีอยู่ในน้ำทะเลและในดินตะกอน ยกเว้น Fe และ Pb ซึ่งพบในดินตะกอนมากกว่าในฟองน้ำทะเล และยังพบว่าในบริเวณเดียวกัน ฟองน้ำทะเลต่างชนิดกันมีการสะสมโลหะหนักได้ต่างกันด้วย โดยฟองน้ำที่อาจจะใช้เป็นดัชนีชี้วัดทางชีวภาพในการติดตามตรวจสอบการปนเปื้อนของโลหะหนักได้ดีในบริเวณหมู่เกาะมัน และเกาะสีชัง คือ Petrosia (Petrosia) sp. “vase” และClathria (Thalysias) reinwardti และบริเวณเกาะสะเก็ด คือ Paratetilla bacca และ Oceanapia sagittaria เพราะเป็นฟองน้ำชนิดเด่นในพื้นที่ แต่อย่างไรก็ตามควรจะได้มีการศึกษาในลักษณะนี้ซ้ำอย่างต่อเนื่องทั้งในบริเวณนี้และบริเวณอื่นๆ ด้วย เพื่อเป็นการยืนยันผลและให้ได้ข้อมูลมากขึ้น เนื่องจากเป็นองค์ความรู้ที่ไม่พบว่ามีการรายงานมาก่อนในประเทศไทย |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
มลพิษทางทะเล - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
ฟองน้ำทะเล - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
มลพิษทางทะเล - - ไทย (ภาคตะวันออก) |
th_TH |
dc.subject |
โลหะหนัก |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การติดตามการสะสมของโลหะหนักในฟองน้ำทะเลบริเวณชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกของไทย |
th_TH |
dc.title.alternative |
Monitoring of theavy metals accumulation in marine sponges in the Eastern coast of the gulf of Thailand |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
musika@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
wanchai@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
arvut@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
waewtaa@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2559 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Accumulation of heavy metals in marine sponges was studied in the eastern coast of the Gulf of Thailand. The samples were collected six times during January 2014 to November 2015 from 7 stations at Ko Mun and Ko Saket in Rayong province and Ko Si Chang in Chonburi province. Seven heavy metals (Cd, Cu, Fe, Hg. Ni, Pb and Zn) in 20 species of marine sponges (a total of 184 samples) were analyzed by using atomic absorption spectrophotometry technique. The results showed that marine sponges accumulated Cd, Cu, Hg. Ni and Zn more than accumulation in seawater and sediments, except Fe and Pb were accumulated in the sediments higher than accumulation in the marine sponges. In the same area, different species of marine sponges can accumulate heavy metals at different concentrations. The sponges that could be used as a bioindicator to monitor heavy metal pollution at Ko Mun and Ko Si Chang were Petrosia (Petrosia) sp. “vase” and Clathria (Thalysias) reinwardti. In addition, at Koh Saket, Paratetilla bacca and Oceanapia sagittari could be used as a bioindicator because they were dominant species in the area. However, a continuous monitoring of heavy metals accumulation in marine sponges should be conducted within the study areas as well as other region. This is to confirm the results and get more valuable data as no available information of heavy metals accumulated in marine sponges has been reported in Thailand. |
en |