dc.contributor.author |
ศิริรัตน์ เกียรติกูลานุสรณ์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสหเวชศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2021-05-03T08:23:34Z |
|
dc.date.available |
2021-05-03T08:23:34Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4066 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนจากรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 |
th_TH |
dc.description.abstract |
ที่มาและความสำคัญ: การออกกำลังกายท่าแพลงค์คว่าเป็นการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความมั่นคงของแกนกลางร่างกายสำหรับบุคคลทั่วไป ผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่าง และนักกีฬา ความมั่นคงของการทรงท่าขณะแพลงค์คว่ำต่างกันเมื่อท่าทางข้อสะโพกที่ต่างกันจากการเปลี่ยนตำแหน่งการวางเท้า อย่างไรก็ตามยังไม่ทราบแน่ชัดว่าส่งผลต่อการทำงานของกล้ามเนื้อหน้าท้องและรยางค์ส่วนล่างอย่างไร
วัตถุประสงค์: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการทำงานของกล้ามหน้าท้องและรยางค์ล่าง
ขณะออกกาลังกายท่าแพลงค์คว่าด้วยการกางสะโพกที่ต่างกันจากการเปลี่ยนตำแหน่งการวางเท้า
วิธีการศึกษา: ผู้ร่วมวิจัยชายสุขภาพดี 20 คน ได้รับการบันทึกคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (EMG) และวิเคราะห์ค่า %MVC ของ rectus abdominis (RA), external abdominis oblique (EO), internal abdominal oblique (IO), rectus femoris (RF), adductor longus (ADL), tensor fasciae latae (TF), vastus medialis oblique (VMO) และ vastus lateralis (VL) เปรียบเทียบระหว่างท่าแพลงค์ว่าด้วยการกางสะโพก 3 แบบ คือ สะโพกหุบ (AD) สะโพกอยู่ในแนวกลาง (NP) และสะโพกกาง (AB) ด้วยการเปลี่ยนตำแหน่งการวางเท้า
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่าไม่มีความแตกต่างของ EMG ของ EO, RA, RF, VMO และ VL ทั้ง 2 ข้าง แต่มีความแตกต่างของ EMG ของ IO, TF และ ADL ทั้ง 2 ข้าง ระหว่างท่าทางการกางสะโพกแต่ละแบบจากการเปลี่ยนตำแหน่งการวางเท้าขณะแพลงค์คว่า โดยกล้ามเนื้อ IO และ TF ทำงานมากที่สุดขณะ AB และทำงานน้อยที่สุดขณะ AD กล้ามเนื้อ ADL ทำงานน้อยที่สุดขณะ NP
สรุป: การเปลี่ยนตำแหน่งการวางเท้าขณะออกกำลังกายท่าแพลงค์คว่าสามารถเปลี่ยนแปลงการทำงานของกล้ามเนื้อ IO, TF และ ADL ได้ ดังนั้นการออกกำลังกายด้วยท่าแพลงค์คว่าสามารถปรับความยากได้ด้วยการเปลี่ยนตาแหน่งการวางเท้า โดยควรเริ่มต้นการฝึกด้วยท่าหุบสะโพกและกางสะโพกมากขึ้นเมื่อต้องการเพิ่มความยาก |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
การออกกำลังกาย |
th_TH |
dc.subject |
แพลงค์ |
th_TH |
dc.subject |
กล้ามเนื้อรยางค์ล่าง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
ผลของท่าทางการวางเท้าขณะออกกำลังกายท่าแพลงค์ต่อคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อหน้าท้องและรยางค์ล่าง |
th_TH |
dc.title.alternative |
Effects of Foot Position during Plank Exercise on Electromyographic Activity of Abdominal and Lower Extremity Muscles |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
siriratk@go.buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2561 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Background: The prone plank exercise is core stability exercise for general people, low back pain patients and athletes. The difference of hip positions due to foot variations influences stability of prone plank positions. However, there is no evidence to support the effects of foot position variations during prone plank on abdominal and lower extremity muscle activations.
Objective: The purpose of this study was to investigate muscle activity of abdominal and lower extremity muscles during prone plank with different hip positions following foot position variations.
Method: Twenty healthy males participated in this study. They were recorded electromyography (EMG) and compared to the %MVC of rectus abdominis (RA), external abdominis oblique (EO), internal abdominal oblique (IO), rectus femoris (RF), adductor longus (ADL), tensor fasciae latae (TF), vastus medialis oblique (VMO) and vastus lateralis (VL) between prone plank with 3 different hip positions following foot position variations that were hip adduction (AD), neutral position of the hip (NP) and hip abduction (AB).
Result: The result showed that there was no significant difference of EO, RA, RF, VMO and VL EMG activities. However, there were significant differences in the use of IO, TF and ADL EMG activities between the deferent hip positions following foot position variations during prone plank. The IO and TF muscles functioned the most during AB while the least during AD position. The ADL muscles functioned the least particularly during NP position.
Conclusion: The alteration of foot position during prone plank exercise was able to change IO, TF and ADL activities. Therefore, the difficulty level of prone plank exercise could be adjusted in according to the alteration of foot position. The training program should start from hip adduction to the greatest extent with hip abduction. |
en |