DSpace Repository

การหล่อโลหะผสมสำหรับเครื่องประดับด้วยกระบวนการกึ่งของแข็ง

Show simple item record

dc.contributor.author ณัฐพล ชมแสง
dc.contributor.author นุชธนา พูลทอง
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี
dc.date.accessioned 2021-04-16T06:06:54Z
dc.date.available 2021-04-16T06:06:54Z
dc.date.issued 2557
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/4035
dc.description โครงการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 th_TH
dc.description.abstract โลหะผสมเงินสเตอร์ลิง 93.5% โดยน้ำหนัก หล่อด้วยกระบวนการหล่อกึ่งของแข็งแบบร่างเทเพื่อปรับปรุงสมบัติเชิงกล โลหะเงินสเตอร์ลิงหล่อในเตาขดลวดเหนี่ยวน้ำที่อุณหภูมิ 1000 องศาเซลเซียส เทผ่านร่างเท มุมในการเทตั้งแต่ 30-60o ระยะเท 20-25 เซนติเมตร เพื่อศึกษาผลของมุมและระยะเทต่อโครงสร้างจุลภาค ความแข็ง และความต้านทานแรงดึงของโลหะเงินสเตอร์ลิง ตัวอย่างทดสอบด้วยเครื่องวัดความแข็งจุลภาคแบบวิคเกอร์ เครื่องทดสอบแรงดึงอเนกประสงค์ กล้องจุลทรรศน์แสง และ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดที่ติดตังสเปคโตรมิเตอร์การกระจายตัวพลังงานรังสีเอ็กซ์ ความแข็งของตัวอย่างหลังหล่อด้วยกระบวนการกึ่งแข็งมีค่าประมาณ 63-78 HV ตัวอย่างที่มีค่าความแข็งสูงสุด ได้แก่ ตัวอย่างหล่อด้วยมุม 45o ระยะเท 20 เซนติเมตร ค่าต้านทานแรงดึงของตัวอย่างดังกล่าวมีค่าประมาณ 104-198 เมกะปาสคาล ตัวอย่างที่มีค่าความต้านทานสูงสุด ได้แก่ ตัวอย่างหล่อด้วยมุม 450 ระยะเท 25 เซนติเมตร โครงสร้างจุลภาคของตัวอย่างหลังหล่อประกอบด้วยเฟสอัลฟ่าปฐมภูมิ และ โครงสร้างยูเทคติก โดยโครงสราสร้างที่มีลักษณะเป็นทรงกลมและเดนไดรต์ที่สันเกิดขึ้นในตัวอย่างหลังหล่อนี้ ภาพ SEM แสดงให้เห็นเฟสอัลฟำที่มีเงินเป็นองค์ประกอบหลักและโครงสร้างยูเทคติกที่มีปริมาณทองแดงสูงขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี th_TH
dc.subject โลหะ - - การหล่อ th_TH
dc.subject เหล็กหล่อ th_TH
dc.subject เครื่องประดับ th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์เคมีและเภสัช th_TH
dc.title การหล่อโลหะผสมสำหรับเครื่องประดับด้วยกระบวนการกึ่งของแข็ง th_TH
dc.title.alternative Alloy casting for jewelry by semi-solid process en
dc.type Research th_TH
dc.author.email natthaphol@buu.ac.th th_TH
dc.author.email nuchthana.poo@kmutt.ac.th th_TH
dc.year 2557 th_TH
dc.description.abstractalternative Semi-solid casting was introduced to improve mechanical properties of sterling silver by sloped cooling plate technique. Ag alloys (93.5 wt %) were cast from an induction furnace at 1000 °C onto a sloped cooling plate. The pouring angles and distances were 30o-60o and 20-25 cm, respectively. Effects of pouring angles and casting distances on microstructure hardness and tensile strength of the sterling silver were investigated. The specimens were checked with Vickers microhardness tester, universal tensile tester, optical microscope (OM), and scanning electron microscope (SEM) with equipped energy dispersive x-ray spectrometer (EDS). Hardness of the as-cast sample from the semi-solid process was about 63-78 HV. Highest hardness was sample cast at 45o angle distance 20 cm. Tensile strength of samples was about 104-198 MPa. Highest tensile strength was sample cast at 45o angle distance 25 cm. The microstructure of the as-cast sample consisted primarily of α-phase and eutectic structure. A spheroidal and short dendrite structure was formed in the as-cast sample. SEM images revealed the α-phase (Ag-rich phase) and eutectic structure (Cu increasing). en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account