DSpace Repository

การพัฒนาเส้นใยอิเล็กโตรสปันเรียงตัวทางเดียวจาก Eudragit RS100 และ RL100 สาหรับวิศวกรรมเนื้อเยื่อเส้นประสาท

Show simple item record

dc.contributor.author ณัฐธัญ เจริญศรีวิไลวัฒน์
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะเภสัชศาสตร์
dc.date.accessioned 2020-04-30T08:01:46Z
dc.date.available 2020-04-30T08:01:46Z
dc.date.issued 2563
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3918
dc.description.abstract เทคนิคการปั่นเส้นใยอิเล็กโตรสปินนิงถูกนามาใช้ทางการแพทย์อย่างแพร่หลาย ได้แก่ โครงร่างวิศวกรรมเนื้อเยื่อ วัสดุปิดแผล และระบบนำส่งยา การวิจัยนี้ เส้นใยอิเล็กโตรสปันเรียงตัวทางเดียวจาก Eudragit RS100 และ RL100 สำหรับวิศวกรรมเนื้อเยื่อเส้นประสาทผลิตได้สาเร็จด้วยอิเล็กโทรสปิน นิงเทคนิค การกระจายขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางและองศาการจัดเรียงตัวของเส้นใย สังเกตภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน โครงสร้างทางเคมีและโครงร่างผลึกของ เส้นใยอิเล็กโตรสปันเรียงตัวทางเดียวจาก Eudragit RS100 และ RL100 วิเคราะห์ด้วยเทคนิคอินฟราเรด สเปโครสโกปี และ X-ray diffactometer การศึกษาเพาะเลี้ยงเซลล์ ใช้เซลล์ประสาทหนู (Schwann cells) สำหรับการประเมินการเจริญเติบโตของเซลล์และสัณฐานวิทยาของเซลล์ บนเส้นใย ผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่า สามารถเตรียมเส้นใยที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ในระดับนาโนเมตรเส้นใยอิเล็กโตรสปันเรียงตัวทางเดียวจาก Eudragit RS100 และ RL100 อยู่ในรูปอสัณฐานและมีโครงสร้างทางเคมีคงเดิมเมื่อผ่านประบวนการอิเล็กโตรสปินนิง เส้นใยอิเล็กโตรสปันเรียงตัวทางเดียวจาก Eudragit RS100 และ RL100 สามารถเข้ากันได้กับเซลล์ประสาทหนู (Schwann cells) และเซลล์สามารถเจริญเติบโตทางเดียวตามแนวของเส้นใยอิเล็กโตรสปัน สรุปผลการวิจัย เส้นใยอิเล็กโตรสปันเรียงตัวทางเดียวจาก Eudragit RS100 และ RL100 มีศักยภาพนาไปประยุกต์ใช้เป็นโครงร่างวิศวกรรมเนื้อเยื่อของเซลล์ประสาทได้ th_TH
dc.description.sponsorship โครงการวิจัยประเภทงบประมาณรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา th_TH
dc.subject วิศวกรรมเนื้อเยื่อ th_TH
dc.subject เซลล์ประสาท th_TH
dc.subject สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ th_TH
dc.title การพัฒนาเส้นใยอิเล็กโตรสปันเรียงตัวทางเดียวจาก Eudragit RS100 และ RL100 สาหรับวิศวกรรมเนื้อเยื่อเส้นประสาท th_TH
dc.title.alternative Development of aligned Eudragit RS100 and RL100 electrospun nanofibers for nerve tissue engineering en
dc.type Research th_TH
dc.author.email natthan@go.buu.ac.th th_TH
dc.year 2563 th_TH
dc.description.abstractalternative Electrospinning technique is widely investigated in medical applications such as tissue engineering scaffolds, wound dressing and drug delivery. In this study, the aligned nanofiber scaffold of Eudragit RS100 and RL100 was successfully fabricated via electrospinning technique for nerve tissue engineering scaffold. The diameter distribution and degree of alignment of Eudragit RS100 and RL100nanofiber scaffold were observed by scanning electron microspore (SEM). The chemical and crystalline structure of Eudragit RS100 and RL100 nanofiber scaffold were analyzed using Fourier transform infrared spectroscopy (FTIR) and Powder X-ray diffactometer (PXRD). Cell culture studies using rat Schwann cells were determined to evaluate cell proliferation cell alignment and morphology. The results implied that the diameter of fiber was in the nanometer region. The Eudragit RS100 and RL100nanofiber scaffold were in an amorphous form and its chemical structure was not destructive after the electrospinning process. The Eudragit RS100 and RL100nanofiber scaffold showed biocompatibility with rat Schwann cells and growing parallel to the aligned fibers. In conclusion, the Eudragit RS100 and RL100 nanofiber scaffold may have the ability to apply to nerve tissue engineering scaffold. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account