dc.contributor.author |
ภัทราพร สร้อยทอง |
|
dc.contributor.author |
กรรณิการ์ จันทร์ชิดฟ้า |
|
dc.contributor.author |
สุชาติ ชายหาด |
|
dc.contributor.author |
นราธิป เพ่งพิศ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-04-15T05:49:30Z |
|
dc.date.available |
2020-04-15T05:49:30Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3888 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ลักษณะสภาพภูมิอากาศ โดยพิจารณาถึงปัจจัยปริมาณ
และความต้องการใช้น้ำของทุกภาคส่วน ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศและการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินต่อความเปราะบางของเมืองในภาค
ตะวันออก การศึกษานี้การเปรียบเทียบให้เห็นถึงความเชื่อมโยงการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์
ที่ดินและลักษณะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีผลต่อทรัพยากรน้ำในภาคตะวันออก โดย
ประยุกต์ใช้ข้อมูลจากดาวเทียมรายละเอียดสูงในพื้นที่ภาคตะวันออก ผลการวิจัยพบว่า สถิติช่วงปี
2550 ถึง 2560 แสดงให้เห็นว่าการใช้ที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงโดยมีการลดลงของพื้นที่เกษตรกรรม
(62.21 % เป็น 61.59 %) พื้นที่เมืองและสิ่งก่อสร้างเพิ่มขึ้น (6.01 % เป็น 7.62%) การเปลี่ยนแปลง
การใช้ประโยชน์ที่ดินส่งผลต่ออุณหภูมิพื้นผิวและทรัพยากรน้ำและปริมาณน้ำฝน โดยจากสถิต
อุณหภูมิเฉลี่ยในช่วงปี 2554 และ 2560 คือ 28.51°C และ 29.27°C ตามลำดับ อย่างไรก็อุณหภูมิที่
สูงขึ้นในเฉพาะช่วงเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม จุดร้อนสูงสุดที่วัดได้อยู่ระหว่าง 38.1-56 °C
ซึ่งจะเกิดขึ้นเฉพาะในช่วงกลางเดือนเมษายนในบางพื้นที่ในภาคตะวันออกเท่านั้น โดยส่วนมากจะเป็น
พื้นที่เมืองและอุตสาหกรรม โดยเฉพาะพื้นที่เมือง 6 พื้นที่ คือ พื้นที่อำเภอกบินทร์บุรี (41.3°C) และ
พื้นที่อำเภอเมือง (40.8°C) จังหวัดปราจีนบุรี พื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี (38.72°C) พื้นที่อำเภอ
เมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา (39.68°C) พื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดระยอง (38.73°C) และพื้นที่อำเภอเมือง
จังหวัดจันทบุรี (37.63°C) ลักษณะของอากาศร้อนที่สุดเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของพื้นที่ที่เป็นเมืองนี้
เป็นผลจากการที่เขตเมืองมีอุณหภูมิสูงขึ้นเมื่อเทียบกับพื้นที่การเกษตรโดยรอบ จากการที่ภาค
ตะวันออกของไทยจึงต้องเผชิญกับการขยายตัวอย่างรวดเร็วของเมืองและอุตสาหกรรมในช่วงมากกว่า
สี่ทศวรรษที่ผ่านมา ในอีกด้านหนึ่งพื้นที่ที่เป็นเมืองจึงเป็นพื้นที่ที่มีความเปราะบางและความเสี่ยงต่อ
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมากกว่าพื้นที่ชนบท เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่าง
จำนวนประชากร ซึ่งพื้นที่เมืองเป็นพื้นที่รวมตัวขนาดใหญ่ของประชากร การจัดการเมืองเพื่อรองรับ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศเป็นความท้าทายต่อภาคส่วนต่าง ๆ ทิศทางการพัฒนาของเมือง
มีความสำคัญต่อการฟื้นฟูภัยพิบัติจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอนาคต |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะภูมิสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
ทรัพยากรน้ำ |
th_TH |
dc.subject |
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ |
th_TH |
dc.subject |
ภูมิสารสนเทศศาสตร์ |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและนิเทศศาสตร์ |
th_TH |
dc.title |
การวิเคราะห์ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศต่อทรัพยากรน้ำ เมืองและการตั้งถิ่นฐานในพื้นที่ภาคตะวันออกด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ |
th_TH |
dc.title.alternative |
Analysis of Climate Change Impacts on Water Resource, Urban, and Human
Settlements in Eastern Thailand: Geo-Informatics Approach for Climate Change
Studies |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
phattraporn@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
This research aims to analyze climate characteristics by considering the
situation of water resources which reflects the impact of climate change and land
use to city’s vulnerability in the eastern region. This study shows the comparing of
the linkage between land use changes and climate change characteristics that affect
water resources in the region, by using the simplified normalized difference
vegetation index method, which the special analysis are particularized by Remote
Sensing (RS) on the visible (band 5, 6 and 4) and thermalinfrared (TIR) channel (band
10) that located in the Landsat-8 Thematic Mapper (TM) sensor and Geographic
Information System (GIS). The result demonstrative significant increasing trends in
temperature and change of land use cover and utility in the eastern. Data from year
1997 to 2017 show land use change pattern by the decreasing of agricultural area
(62.21 % to 61.59 %) whereas there are increasing of building area/urban (6.01 % to
7.62%). The change of Land use types effected to land surface temperature (LST)
and water resources and rainfalls, an average LST of the eastern between 2011 and
2017 is about 28.51°C and 29.27°C. However, temperatures rising only during February
to May, the hotspot of LST has its maximum during 38.1-56 °C that located in some
areas by mid April in many eastern provinces mostly in some part of urban and
industrial area, especially in six areas: Kabin Buri District (41.30°C), and Muang District
(40.80°C), Prachinburi province; Muang District, Chonburi province (38.72°C); Muang
District, Chachoengsao province (39.68°C); Muang District, Rayong province (38.73°C);
Muang District, Chanthaburi province (37.63°C). This hot weather characteristic has
increased continuously in this urban area. As a result of the higher urban
temperatures compared to the surrounding agricultural areas, therefore, the eastern
of Thailand is faced with the rapid expansion of cities and industries over the past
four decades. On the other hand, urban areas are more vulnerable and risk to the
effects of climate change than rural areas. Due to the relationship between the larger
population in the city, how city management is challenge to reduce climate change. |
en |