DSpace Repository

การเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและผลผลิตโคพีพอด เพื่อใช้อนุบาลลูกกุ้งขาววัยอ่อน

Show simple item record

dc.contributor.author มะลิวัลย์ คุตะโค
dc.contributor.author ปวีณา ตปนียวรวงศ์
dc.contributor.author สรวิศ เผ่าทองศุข
dc.contributor.author นภาพร เลียดประถม
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะเทคโนโลยีทางทะเล
dc.date.accessioned 2020-04-13T12:27:00Z
dc.date.available 2020-04-13T12:27:00Z
dc.date.issued 2562
dc.identifier.uri http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3872
dc.description.abstract โคพีพอด A. royi ใช้ระยะพัฒนาตั้งแต่ระยะนอเพลียสถึงตัวเต็มวัย 15-16วัน นอเพลียสและโคพิโพดิดถึงตัวเต็มวัยมีขนาดเท่ากับ 150 และ 600 ไมโครเมตร ตามลำดับ เมื่อเลี้ยงสาหร่ายผสม คือ T. suesica+A. subtropica, T. suesica+Chaetoceros, T. suesica+I. galbana และ T. uesica+Thalssiosira พบว่าการเลี้ยงสาหร่ายผสม T. suesica+A. subtropica, T. suesica+Chaetoceros และ T. suesica+Thalssiosira มีอัตราการเติบโตจำเพาะใกล้เคียงกับการเลี้ยงแบบชนิดเดียว แต่ผลผลิตมวลชีวภาพของสาหร่ายต่ำกว่าการเลี้ยงแบบชนิดเดียว ส่วนการเลี้ยง T. suesica+Chaetoceros โดยเลี้ยงแบบกึ่งต่อเนื่อง พบว่าสาหร่ายทั้ง 2 ชนิด สามารถเลี้ยงร่วมกันได้ โดยมีผลผลิตมวลชีวภาพในช่วง 8.27-49.65x107 และ 10.57-20.40x107 เซลล์ต่อลิตรต่อวัน ตามลำดับ สาหร่ายที่เลี้ยงแบบผสมมีปริมาณไขมันสะสมสูงกว่าสาหร่ายที่เลี้ยงแบบชนิดเดียว ซึ่งการ เลี้ยงสาหร่าย T. suesica+A. subtropica มีไขมันสะสมสูงที่สุดเมื่อเทียบกับการเลี้ยงผสมด้วย สาหร่ายชนิดอื่น (P≤0.05) องค์ประกอบกรดไขมันของสาหร่ายทุกชนิดที่เลี้ยงแบบชนิดเดียวและแบบ ผสม พบว่ามีกรดไขมันชนิดเด่นที่เหมือนกัน คือ กรดไขมันชนิด 16:0, 18:0, 16:1 และ 18:2n6 โดย สาหร่ายทุกชนิดที่เลี้ยงแบบชนิดเดียว มีปริมาณกรดไขมัน 16:0 และ 16:1 สูง ในขณะที่ สาหร่ายที่ เลี้ยงแบบผสมพบว่ามีปริมาณกรดไขมัน 18:0 และ 18:2n6 สูง โคพีพอดที่เลี้ยงด้วยสาหร่าย Thalassiosira ให้ความหนาแน่นสูงถึง 10,766 ตัวต่อลิตร ส่วนโคพีพอดที่เลี้ยงด้วยสาหร่ายผสมโดยใช้สาหร่าย T. suesica+Chaetoceros ให้ความหนาแน่น โคพีพอดทั้งหมดสูงสุดเท่ากับ 11,604 ตัวต่อลิตร โคพีพอดที่เลี้ยงด้วยสาหร่ายชนิดเดียวมีกรดไขมัน เชิงซ้อน 20:5n3 เป็นชนิดเด่น ส่วนโคพีพอดที่เลี้ยงด้วยสาหร่ายแบบผสม 2 ชนิด มีกรดไขมันไม่ อิ่ม ตัวเชิงซ้อน 18:2 n6 เป็น ชนิด เด่น แ ละพ บ 22:6n3 เฉพาะโคพีพอด ที่เลี้ยงด้วย T. suecica+Chaetoceros, T. suecica+Thalassiosira และ T. suecica+I. galbana ผลจากการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่าการผลิตโคพีพอดที่มีความหนาแน่นสูงสาหรับเป็นแหล่งของ กรดไขมันไม่อิ่มตัวชนิดโอเมกา−3 ควรเลี้ยงด้วย Thalassiosira เพียงชนิดเดียว และเลี้ยงด้วย สาหร่าย Tetraselmis+Chaetoceros th_TH
dc.description.sponsorship งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล (งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher คณะเทคโนโลยีทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี th_TH
dc.subject กุ้งขาว - - การเลี้ยง th_TH
dc.subject สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา th_TH
dc.title การเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการและผลผลิตโคพีพอด เพื่อใช้อนุบาลลูกกุ้งขาววัยอ่อน th_TH
dc.title.alternative Enhance of Nutritional Value and Productivity of Copepod for White Shrimp Larvae Rearing en
dc.type Research th_TH
dc.author.email maliwan@buu.ac.th th_TH
dc.year 2562 th_TH
dc.description.abstractalternative The development of calanoid copepod, Apocyclops royi, took 15-16 days from nauplius to adult stage. The body length of A. royi was 150 microns during nauplius and 600 microns in adult stage. Mixed cultures of microalgae including T. suesica+A. subtropica, T. suesica+Chaetoceros, T. suesica+I. galbana and T. suesica+Thalssiosira were performed. Specific growth rates of mixed cultures of T. suesica+A. subtropica, T. suesica+Chaetoceros, and T. suesica+Thalssiosira were similar to single cultures. However, biomass productivity of mixed culture was lower than in single culture. Mixed culture of T. suesica and Chaetoceros under semi-continuous culture showed that they could be grown and biomass productivity of T. suesica and Chaetoceros was .27-49.65x107 and 10.57-20.40x107 cells/L/day, respectively. With mixed microalgae culture, lipid content was significantly higher than in single-species culture (P≤0.05). Dominant fatty acids in single and mixed microalgae were palmitic acid (16:0), stearic acid (18:0), palmitoleic acid (16:1) and linoelaidic acid (18:2n6). High amount of 16:0 and 16:1 was found in single-species culture while 18:0 and 18:2n6 was found in mixed culture. Copepod fed with Thalassiosira gave a high density of 10,766 no./L. With mixed microalgae (T. suesica+Chaetoceros), copepod had the maximum density of 11,604 no/L. Eicosapentaenoic acid (EPA, 20:5n3) was the dominant polyunsaturated fatty acid (PUFA) in copepod fed with single microalgae. Linoelaidic acid was the dominant PUFA in copepod fed with mixed microalgae. Docosahexaenoic acid (DHA, 22:6n3) was found only in copepod fed with T. suecica+Chaetoceros, T. uecica+Thalassiosira, and T. suecica+I. galbana. The results of this research indicated that the cultivation of calanoid copepod, A. royi, with single microalgae (Thalassiosira) and mixed microalgae (Tetraselmis+Chaetoceros) diets could be given the high density and level of n-3 PUFAs. en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account