dc.contributor.author |
สายสมร นิยมสรวญ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี. คณะอัญมณี |
|
dc.date.accessioned |
2020-02-28T07:13:36Z |
|
dc.date.available |
2020-02-28T07:13:36Z |
|
dc.date.issued |
2559 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3787 |
|
dc.description.abstract |
อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับจัดเป็นสินค้าที่ได้รับความนิยมทำรายได้ให้กับประเทศในฐานะสินค้าส่งออกที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจสำคัญอันดับ 1 ใน 10 ของประเทศไทย ปัจจุบันพลอยเนื้ออ่อนเป็นพลอยที่ตลาดให้ความนิยมเป็นเพิ่มมากขึ้น จะเป็นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้พลอยเนื้ออ่อนหากสามารถเพิ่มความต้านทานการขูดขีดได้ งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสังเคราะห์ฟิล์มบางอลูมินาบนพลอยเนื้ออ่อนด้วยการตกสะสมในระดับอะตอมที่เพิ่มประสิทธิภาพด้วยพลาสมา ออกซิเจน (Plasma Enhanced Atomic Layer Deposition : PE-ALD) โดยปฏิกิริยาระหว่าง Trimethylaluminum (TMA ) จากพลาสมาออกซิเจนและมีการควบคุมกำลังไฟ 145-150 วัตต์ ความดันในห้องเคลือบเริ่มต้นที่ 4× 10-2 ทอร์ โดยมีศึกษาอิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงจำนวนการเคลือบ 400 - 800 รอบ และการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิการเคลือบ 80 - 300 องศาเซลเซียส จากผลการวัดการแตกตัวของพลาสมาก๊าซออกซิเจน อนุมูลสาคัญที่พบมาก คือ อนุมูล O* องค์ประกอบทางเคมีที่พบบนผิวฟิล์มเมื่อตรวจสอบด้วยเทคนิค XPS พบว่าฟิล์มอลูมินาประกอบด้วย พันธะ Al – O, และAl – OH, ซึ่งฟิล์มมีการปนเปื้อนของคาร์บอนประกอบด้วยพันธะ C – O – Al, และ C = O, และเทคนิค XRD แสดงลักษณะอสัณฐาน (Amorphous) ของฟิล์มบางพลอยเนื้ออ่อนที่ผ่านการเคลือบแล้วยังคงคุณลักษณะพื้นฐานของค่าดัชนีหักเหของแสง และค่าความถ่วงจำเพาะของค่าพื้นฐานของพลอยนั้น และคุณสมบัติทางแสงด้วยเทคนิค UV-VIS NIR spectroscopy ไม่แสดงการเปลี่ยนแปลงสีของอัญมณีที่ผ่านการเคลือบฟิล์มบาง การเคลือบฟิล์มบางบนโรสควอทซ์ พบว่ามีความหนาเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิการเคลือบที่เพิ่มขึ้น ในทางกลับกัน การเคลือบฟิล์มบางพลอยเพอริโดทำให้ความหนาลดลงเมื่อเพิ่มอุณหภูมิในการเคลือบพลอยเนื้ออ่อนที่เคลือบฟิล์มบาง มีค่าความแข็งเพิ่มขึ้น โดยพบว่าพลอยเพอริโดซึ่งก่อนเคลือบมีค่าความแข็งที่ต่ากว่าพลอยโรสควอทซ์ เมื่อเคลือบฟิล์มบางแล้วทำให้มีค่าความแข็งใกล้เคียงกับพลอยโรสควอทซ์ที่ไม่ได้เคลือบ อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นมีผลให้ค่าความแข็งมีการเพิ่มขึ้นมากขึ้น |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้จากเงินอุดหนุนรัฐบาล
(งบประมาณแผ่นดิน) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2559 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี |
th_TH |
dc.subject |
อุตสาหกรรมอัญมณี |
th_TH |
dc.subject |
เครื่องประดับ |
th_TH |
dc.subject |
อัญมณี -- การเจียระไน |
th_TH |
dc.subject |
อัญมณี |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย |
th_TH |
dc.title |
การวิจัยและพัฒนาการเคลือบฟิล์มบางอลูมินาเพื่อเพิ่มความต้านทานต่อการขีดข่วนของอัญมณีเนื้ออ่อนด้วยเทคนิค Plasma-enhanced atomic layer deposition (PE-ALD) |
th_TH |
dc.title.alternative |
Research and development of alumina protective thin film coating on semi-precious stones by Plasma-enhanced atomic layer deposition (PE-ALD) |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
saisamor@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2559 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Gems and jewelry is one of the top 10 export products that makes a great income to our country. The semi-precious gemstones are becoming very popular in the market.
However, they have a drawback on scratch resistance. This project focused on coating the
semi-precious gemstones with alumina thin film with plasma-enhanced atomic layer (PEALD)
deposition technique to provide a high translucence thin film that could enhance
their hardness and scratch resistance.
PE-ALD of the alumina thin film was created from the Trimethylaluminum (TMA)
and oxygen plasma as reactants. The process power and starting pressure in the chamber
were controlled at 145-150 watt. and 4 × 1 0 - 2 Torr. Effects of coating cycles and coating
temperatures were among 400 - 800 cycles and 80 - 300 degree Celsius. Optical Emission
Spectroscopy (OES) technique was used to analyze ion species during the process. The
spectra showed a presence of O* as dominant radicals
Chemical composition of the film was analyzed using XPS technique. Bonding of
the alumina film surface composed of Al-O, Al-OH, Al-O, Al-F, Al (COx)y and Al3 + . Also
contamination of carbon was found consisting of C-O-Al, C-C, C-O, C = O, O = C-O, CO3
and C-F bonds. With XRD analysis, the film had amorphous structure.
The coated semi-precious gemstones still maintained their general properties as of
their own types according to the specific gravity and refractive index. Moreover, their color
was also not changed as observed by naked eyes, along with a confirmation from the
absorption spectra from UV-VIS NIR spectroscopy.
Thickness of the firm coated on rose quartz was increased with coating temperature.
In contrast, the film thickness on peridot was decreased. As detected by Vickers
microhardness tester, the coated gemstones gained higher hardness. The coated peridot
was as hard as the uncoated rose quartz. |
en |