dc.contributor.author |
นิภา มหารัชพงศ์ |
|
dc.contributor.author |
ยุวดี รอดจากภัย |
|
dc.contributor.author |
สุนิศา แสงจันทร์ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
|
dc.date.accessioned |
2020-02-16T14:09:09Z |
|
dc.date.available |
2020-02-16T14:09:09Z |
|
dc.date.issued |
2561 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3779 |
|
dc.description.abstract |
ปัจจุบันปัญหามลพิษทางอากาศที่ผลกระทบต่อสุขภาพต่อสุขภาพมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นและยากที่จะหลีกเลี่ยงโดยเฉพาะผู้ที่อาศัยในเขตควบคุมมลพิษ ความรอบรู้สุขภาพจึงมีความสำคัญในการส่งเสริมให้บุคคลสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ ศึกษาวิจัยกึ่งทดลอง โดยดำเนินการทดลองแบบกลุ่มเดียววัดผลก่อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมความรอบรู้สุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันตนเองเพื่อลดการรับสัมผัสมลพิษแรงงาน โดยสุ่มแรงงาน จำนวน 93 คนเข้าร่วมโปรแกรมส่งเสริมการป้องกันตนเองจากการได้รับมลพิษทางอากาศ จำนวน 3 กิจกรรม คือ รอบรู้เรื่องมลพิษทางอากาศ การป้องกันตนเองจากมลพิษทางอากาศในภาวะปกติ และแนวทางการป้องกันตนเองสาหรับประชาชนเพื่อลดการรับสัมผัสมลพิษในเหตุฉุกเฉินทางสารเคมี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณาโดยใช้ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าต่าสุด-สูงสุด และการวิเคราะห์เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย โดยใช้สถิติ Paired samples t-test
จากผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลองแรงงานมีความรอบรู้สุขภาพเกี่ยวกับ
การป้องกันตนเองเพื่อลดการสัมผัสมลพิษเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.01) ทั้งความรอบรู้โดยรวม และความรอบรู้ในด้าน ความรู้ ความเข้าใจ
ด้านการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ ด้านการสื่อสาร และด้านการรู้เท่าทัน
สื่อ ผลการเปรียบเทียบพฤติกรรมการป้องกันตนเองเพื่อลดการรับสัมผัสมลพิษ ภายในกลุ่ม พบว่า หลังการทดลองพฤติกรรมการป้องกันตนเองเพื่อลดการรับสัมผัสมลพิษ โดยรวมของแรงงานมีค่าเฉลี่ยเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.001) ผลการวิจัยครั้งนี้สรุปได้ว่าการส่งเสริมความรอบรู้สุขภาพส่งผลให้แรงงานมีการป้องกันการรับสัมผัสมลพิษเพิ่มมากขึ้น ซึ่งสามารถใช้เป็นแนวทางสำหรับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มที่มีความไว เพื่อลดการรับสัมผัสมลพิษต่อไป |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยฉบับนี้ได้รับสนับสนุนการวิจัยประเภทงบประมาณเงินรายได้ จากเงินอุดหนุนรัฐบาล(งบประมาณแผ่นดิน)ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.publisher |
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
มลพิษ |
th_TH |
dc.subject |
ผู้ใช้แรงงาน |
th_TH |
dc.subject |
การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง |
th_TH |
dc.subject |
สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ |
th_TH |
dc.title |
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความรอบรู้สุขภาพเกี่ยวกับการป้องกันตนเองเพื่อลดการรับสัมผัสมลพิษของแรงงาน ในเขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง |
th_TH |
dc.title.alternative |
The development model for promoting health literacy related to self-protection of air pollution exposure among worker in the maptaphut pollution control zone, rayong province |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
mnipa@yahoo.com |
th_TH |
dc.author.email |
yuvadee@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
sunisas@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2561 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Nowaday, air pollution is increasing dramatically increased and avoiding exposure to pollution is especially difficult for people living in pollution-controlled areas. Health literacy plays an important role in encouraging people to promote and maintain good health. The purpose of this quasi-study was to study the effect of promoting health literacy related to self-protection of air pollution exposure among worker in the maptaphut pollution control zone, rayong province. Ninety three workers were selected and received health literacy promotion program which consist of 3 activities: health literacy regarding air pollution, self-protection behaviours in reducing exposure and protecting themselves from chemical accident. Questionnaire including 1) general information, 2) health literacy, and 3) self-protection behaviours in reducing the exposure were used. The collected data were consequently analyzed for frequency, percentages, means, and standard deviations; and paired samples t-test.
The results showed that after intervention health literacy of workers were statistically increase (P<0.01) in the aspects of total health literacy, cognitive, accessing to health care and health information, communication skills, and media literacy. And, self-protection of air pollution exposure of worker also statistically increase after intervention (p<0.001). The results of the research concluded that promoting health knowledge about protecting oneself from exposure to air pollution among workers can increase the level of self-protection from air pollution among workers |
en |