dc.contributor.author |
ศิริวรรณ ชูศรี |
|
dc.contributor.author |
สุชา มั่นคงสมบูรณ์ |
|
dc.contributor.author |
วิไลวรรณ พวงสันเทียะ |
|
dc.contributor.author |
จารุนันท์ ประทุมยศ |
|
dc.contributor.other |
มหาวิทยาลัยบูรพา. สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล |
|
dc.date.accessioned |
2020-02-16T11:43:34Z |
|
dc.date.available |
2020-02-16T11:43:34Z |
|
dc.date.issued |
2562 |
|
dc.identifier.uri |
http://dspace.lib.buu.ac.th/xmlui/handle/1234567890/3777 |
|
dc.description.abstract |
ปลาบู่อมทรายแก้มฟ้า Valenciennea strigata เป็นปลาทะเลสวยงามชนิดหนึ่งในสัตว์ทะเลหายาก
ที่อาศัยอยู่บริเวณแนวปะการัง การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทางชีววิทยาพื้นฐานของปลาบู่อมทรายแก้มฟ้า 3 ด้าน คือด้านแรกเพื่อศึกษาพฤติกรรมการสืบพันธุ์ของพ่อแม่พันธุ์ปลา การแยกเพศ และความถี่ในการวางไข่ ด้านที่สองเพื่อศึกษาพัฒนาการของคัพภะและระยะเวลาในการพัฒนาการของปลาบู่อมทรายแก้มฟ้าตั้งแต่ปฏิสนธิจนฟักเป็นตัวอ่อน และด้านที่สามเพื่อศึกษาอนุกรมวิธานของลูกปลาบู่ตั้งแต่แรกฟักจนถึงระยะปลามีลักษณะเหมือนพ่อแม่พันธุ์ภายใต้สภาพห้องปฏิบัติการ ผลการศึกษาพบว่าพ่อแม่พันธุ์ปลาบู่อมทรายแก้มฟ้ามีขนาดความยาวทั้งหมด (Total length, TL) มีค่าเฉลี่ย (± SD) เท่ากับ 8.7±1.5 ซม. (n=16) น้าหนักเฉลี่ยเท่ากับ 5.8±3.8 กรัม (n=16) มีพฤติกรรมการจับคู่เฉพาะ เป็นแบบผัวเดียวเมียเดียว การสังเกตลักษณะภายนอกทำได้ค่อนข้างยาก เนื่องจากปลาบู่เพศผู้และเพศเมียมีลักษณะที่คล้ายกัน สามารถแยกเพศได้จากตุ่มอวัยวะเพศ (genital papilla) โดยปลาบู่อมทรายแก้มฟ้าเพศเมียจะมีติ่งเพศกลมมน และมีรูช่องเปิดรูทวารใหญ่ แต่เพศผู้ติ่งเพศมีขนาดเล็กและแหลม มีการผสมพันธุ์ภายนอกร่างกาย (External Fertilization) มีรอบผสมพันธุ์วางไข่เฉลี่ยทุก 10-12 วัน ±0.89 วัน (n=7) จานวนไข่ที่วางแต่ละครั้งพบตั้งแต่ 3,604-34,000 ฟอง (n=5) ไข่ปลาบู่อมทรายแก้มฟ้ามีลักษณะเป็นไข่ประเภทไข่จม (Adhesive egg) ระยะเวลาการพัฒนาของคัพภะตั้งแต่ได้รับการปฏิสนธิจนฟักออกเป็นตัวอ่อนลูกปลาใช้ระยะเวลา 56 ชั่วโมง 30 นาที สามารถแบ่งระยะพัฒนาการคัพภะเป็น 7 ระยะพัฒนาการ 1) Cleavege 2) Blastula 3) Gastrula 4) Neurula 5) Head bud and tail bud 6) Organ formation และ 7) Hatching out โดยไข่มีความยาวเฉลี่ยเท่ากับ 1.1±0.3 มม. (n=10) มีความกว้างเฉลี่ยเท่ากับ 0.2±0.0 มม. (n=10) และขนาดความยาวทั้งหมดของลูกปลาแรกฟักเฉลี่ยเท่ากับ 1.7±0.0 มม. (n=10) ค่าคุณภาพน้าด้านอุณหภูมิอยู่ระหว่าง 26.8 28.6 °c และค่าความเค็มน้า 32 ppt ในการศึกษาครั้งนี้ไม่สามารถศึกษาพัฒนาการ
การเปลี่ยนแปลงทางด้านสรีระวิทยาของลูกปลาบู่ได้ เนื่องจากตัวอย่างลูกปลาวัยอ่อนของปลาบู่
อมทรายแก้มฟ้า มีจำนวนไม่มากนัก มีเฉพาะลูกปลาวัยอ่อน วันที่ 2 และ 3 ของการฟักเท่านั้น |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล มหาวิทยาลัยบูรพา |
th_TH |
dc.subject |
สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาพฤติกรรมการสืบพันธุ์ของพ่อแม่พันธุ์ พัฒนาการของคัพภะ และ อนุกรมวิธานของปลาบู่ทะเลวงศ์ Gobiidae |
th_TH |
dc.title.alternative |
Study reproductive behavior, development and Taxonomy of Gobiidae |
en |
dc.type |
Research |
th_TH |
dc.author.email |
siriwan@bims.buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
wilaiwanp@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
jarunan@buu.ac.th |
th_TH |
dc.author.email |
sucha@buu.ac.th |
th_TH |
dc.year |
2562 |
th_TH |
dc.description.abstractalternative |
Blueband goby, Valenciennea strigata is one of rare ornamental fish that live in the coral-reef. The experiments conducted to study 3 purposes of elementary biological characteristic’s Blueband goby. The first, to study reproductive behavior of broodstock, sex differentiation and spawning frequency. The second, to study the embryonic and Time of development of blueband goby started from fertilization until hatching. And the third, to study Taxonomy of blueband goby larvae from hatching until the fish stage looks like broodstock. These studies done under the laboratory conditions. It found that Broodstock average total length was (mean±SD) 8.7±1.5 cm. (n=16) and average weight was 5.8±3.8 gram (n=16). Blueband goby has specific matching behavior are monogamous gobies. Observation of the external characteristics is rather difficult because male and female gobies have similar characteristics, it can separate sex by shape of the genital papilla is adult of female gobies have rounded genital papilla and big anus but adult male gobies have small pointed genital papilla. It was external fertilization, average spawning frequency was 10-12 days ±0.89 days (n=7). Each spawning contains about 3,604-34,000 eggs (n=5). It found that egg were Adhesive egg. Embryonic periods was 56 hrs and 30 min after fertilization. The embryonic development divided into 7 stages 1) Cleavege 2) Blastula 3) Gastrula 4) Neurula 5) Head bud and tail bud 6) Organ formation and 7) Hatching out. Its average length was 1.1±0.3 mm. (n=10) and average weight was 0.2±0.0 mm. (n=10). Fish larvae observed average total length of 1.7±0.0 mm. (n=10) at water temperature 26.8 28.6 °c and salinity 32 ppt. In this study, the development of physiology of goby larvae wasn’t able to study because specimens of goby larvae were limited, it has second day and third day of larvae hatching only. |
en |
dc.keyword |
ปลาบู่อมทรายแก้มฟ้า |
th_TH |
dc.keyword |
ปลาทะเลสวยงาม |
th_TH |